dc.contributor.advisor |
พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์ |
|
dc.contributor.author |
ประไพ การะเกตุ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.coverage.spatial |
กรุงเทพฯ |
|
dc.date.accessioned |
2020-05-08T07:37:09Z |
|
dc.date.available |
2020-05-08T07:37:09Z |
|
dc.date.issued |
2546 |
|
dc.identifier.isbn |
9741748671 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65682 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับการติดยาเสพติดของวัยรุ่นชายตอนต้นในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 498 คน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มวัยรุ่นชายที่ติดยาเสพติด ในโรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โรงพยาบาลธัญญารักษ์ และศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ลาดหลุมแก้ว อายุ 13-15 ปี จำนวน 248 คน และกลุ่มนักเรียนวัยรุ่นชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2 และ3 ในโรงเรียนสีขาว ในกรุงเทพมหานคร อายุ 13-15 ปี จำนวน 250 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสถานภาพทั่วไป มาตรวัดการอบรมเลี้ยงดูซึ่งพัฒนาตามรูปแบบการวิจัย เกี่ยวกับการอบรมเลียงดูของ Baumrind แบบวัดบุคลิกภาพ Extroversion / Introversion Inventory (1997 ) และแบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเอง ของ Stanley Coopersmith ( 1984) นำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์การจำแนกกลุ่ม ( Discriminant Analysis) ด้วยวิธีการวิเคราะห์แบบขั้นตอน ( Stepwise ) โดยใช้สถิติวิลค์สแลมดา ( Wilks’s Lambda ) เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวแปรเข้าวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า จากการวิเคราะห์ผลข้อมูล ด้วยเทคนิคการจำแนกกลุ่ม ปรากฏว่า มีตัวแปรจำนวน 4 ตัวแปร จาก 13 ตัวแปร ที่สามารถอธิบายความแปรปรวน ของการเป็นสมาชิกกลุ่มวัยรุ่นชายที่ติดยาเสพติดและกลุ่มนักเรียนวัยรุ่นชาย ได้ถึงร้อยละ 82.1 ซึ่งตัวแปร 4 ตัวแปรตังกล่าว ถือเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับวัยรุ่นชายที่ติดยาเสพติด ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้แก่ปัจจัยดังต่อไปนี้ คือ (1) พฤติกรรมการใช้ยาเสพติดของเพื่อน (2) ระดับการศึกษา (3) การเห็นคุณค่าในตนเอง และ(4) สถานภาพการสมรสของพ่อแม่ (เรียงตามลำดับความสำคัญ จากค่าสัมประสิทธิ์ คาโนนิคัลมาตรฐาน Ci ) |
|
dc.description.abstractalternative |
The propose of this research was to study the selected factors related to early adolescent male drug addict in Bangkok Metropolis. The sample were 498 early adolescent male drug addict devided into 2 groups: (1) 248 early adolescent male drug addict in the hospital 1 aged 13 -15. (2) 250 Matayomsuksa 1 , 2 and 3 male adolescent students of the same aged , from White schools in Bangkok Metropolis .The research instruments were the Personal Data Questionnaire , the Parenting style Measuring Scale which were developed from Baumrind’s research, Extroversion / Introversion Inventory from Llona, J. (1997) and Coopersmith Self-Esteem Inventory- School Form (1984). The data were analyzed by the discriminant analysis technique with stepwise methods. Wilks’s Lambda was used for the entry criterion. The results showed that 4 variables from the total 13 variables accounted for 82.1 percent of the variance of group membership between early adolescent male drug addict and early adolescent male students. The 4 variables that related to early adolescent male drug addict and early adolescent male students in the Bangkok Metropolis : (1) Associate with drug addict friend (2) Education level (3) Self-Esteem and (4 ) Parent Marrige Status. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การติดยาเสพติด |
en_US |
dc.subject |
วัยรุ่นชาย -- ไทย -- กรุงเทพฯ |
en_US |
dc.subject |
Drug addiction |
en_US |
dc.subject |
Teenage boys -- Thailand -- Bangkok |
en_US |
dc.title |
ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับการติดยาเสพติดของวัยรุ่นชายตอนต้นในกรุงเทพมหานคร |
en_US |
dc.title.alternative |
Selected factors related to early adolescent male drug addict in Bangkok methopolis |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
จิตวิทยาพัฒนาการ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Puntip.S@Chula.ac.th |
|