dc.contributor.advisor |
สิริเพ็ญ พิริยจิตรกรกิจ |
|
dc.contributor.author |
เอกวิน ขุนบุญจันทร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-05-12T02:18:29Z |
|
dc.date.available |
2020-05-12T02:18:29Z |
|
dc.date.issued |
2546 |
|
dc.identifier.isbn |
9741752881 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65731 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 |
en_US |
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้คือการสำรวจ วิเคราะห์ และประเมินปัญหาความเป็นภววิสัยของวิทยาศาสตร์ในฐานะความรู้เชิงสังคม แนวคิดกระแสหลักในปรัชญาวิทยาศาสตร์ในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 เชื่อว่าข้อความเชิงสังเกตสามารถแยกออกได้จากข้อความเชิงทฤษฎี ทำให้เราสามารถประเมินทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์อย่างเป็นภววิสัยได้ แต่จากปัญหาการพ่วงมากับทฤษฎีของการสังเกตและจากข้อโต้แย้งของทัศนะแบบคูห์น ทำให้เห็นว่าการสังเกตไม่อาจเป็นอิสระจากทฤษฎีและการเปลี่ยนแปลง ทฤษฎีในวิทยาศาสตร์ไม่อาจนำมาประเมินกันได้ วิทยาศาสตร์จึงไม่อาจคงความเป็นภววิสัยต่อไปได้ ทัศนะแบบคูห์นนำไปสู่ทัศนะแบบ strong programme ที่ชี้ให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงในวิทยาศาสตร์มีสาเหตุมาจากปัจจัยทางสังคม ทำให้วิทยาศาสตร์ถูกมองว่าเป็นความรู้เชิงสังคมแบบหนึ่งเท่านั้น ความเป็นภววิสัยของวิทยาศาสตร์จึงเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ลองจิโนเห็นว่าแม้ปัจจัยเชิงสังคมจะมีบทบาทต่อการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ แต่การใช้กระบวนการเชิงสังคมที่ก่อให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์จะช่วยกลั่นกรองคุณค่าที่เป็นอัตวิสัยออกไปได้ ความรู้ที่ได้มาจึงยังสามารถถือได้ว่ามีความเป็นภววิสัย แต่ผู้เขียนได้ชี้ให้เห็นว่าลองจิโนใช้ความเป็นภววิสัยในความหมายที่ต่างไปจากเดิม อีกทั้งในข้อเสนอของลองจิโนยังมีข้อจำกัดบางประการนั้นคือ ในบางกรณี การมีความเห็นที่ต่างกันเป็นผลมาจากการยึดถือความเชื่อจากคนละกรอบความคิดที่ไม่อาจนำมาประเมินกันได้ ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์ดังกล่าวเป็นไปไม่ได้ |
|
dc.description.abstractalternative |
This thesis aims to investigate, analyze and evaluate the problem of objectivity in science as social knowledge. Received view in Philosophy of Science in the first half of the twentieth century held that observational statements are independent from theoretical statements and so we could evaluate scientific theories objectively. But the problem of theory-ladeness of observation and the Kuhnian view show that observations always depend on some theories and theory changes in science are incommensurable, hence there is no objectivity in science, strong programme, influenced by the Kuhnian view, points out that scientific changes are caused by social factors and science is thus viewed as a form of social knowledge. The objectivity of science is impossible. Longino, however, holds that although social factors play the role in scientific inquiry but social process which provokes effective criticism can make science free from subjective values. So scientific knowledge derived from such process can still be objective. But I point out that Longino's shift in the meaning of objectivity. In addition there is a limitation in Longino’s thesis, that is, in some cases different hypotheses from different world views which are incommensurable will make effective criticism impossible. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2003.899 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
วิทยาศาสตร์ -- ปรัชญา |
en_US |
dc.subject |
Science -- Philosophy |
en_US |
dc.title |
ปัญหาความเป็นภววิสัยของวิทยาศาสตร์ในฐานะความรู้เชิงสังคม |
en_US |
dc.title.alternative |
Problem of objectivity in science as social knowledge |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
ปรัชญา |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Siriphen.P@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2003.899 |
|