DSpace Repository

ความเข้าใจ ทัศนคติ และความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค ที่มีต่อภาพอุปมาอุปไมยประเภทต่างๆ ในงานโฆษณานิตยสาร

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิฎราธร จิรประวัติ
dc.contributor.author เทียนชัย ไพฑูรย์ชัยภรณ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-05-25T07:13:28Z
dc.date.available 2020-05-25T07:13:28Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.isbn 9740317022
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66009
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 en_US
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษารูปแบบ และเนื้อหาของโฆษณาทางนิตยสารที่มีการใช้ภาพแบบอุปมาอุปไมย และเพี่อศึกษาความเข้าใจ ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อภาพอุปมาอุปไมย และความตั้งใจซื้อสินค้าที่ใช้ภาพอุปมาอุปไมยในงานโฆษณานิตยสารโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาในการศึกษารูปแบบและเนื้อหาของงานโฆษณาทางนิตยสารที่มีการใช้ภาพแบบอุปมาอุปไมยและใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากการจัดทำสนทนากลุ่มในการศึกษาความเข้าใจ และทัศนคติ ของผู้บริโภคที่มีต่อภาพอุปมา อุปไมย และความตั้งใจซื้อสินค้าที่ใช้ภาพอุปมาอุปไมยในงานโฆษณานิตยสาร ผลการวิจัย มีดังนี้ 1. ภาพโฆษณาแบบอุปมาอุปไมยสามารถจำแนกประเภทได้ 4 รูปแบบได้แก่ ภาพอุปมาอุปไมยแบบภาพเดี่ยวสื่อความหมาย (MP1s), ภาพอุปมาอุปไมยแบบสองภาพสื่อความหมาย (MP2s), ภาพอุปมาอุปไมยแบบภาพเปรียบเทียบ (Pictorial Similes) และภาพอุปมาอุปไมยแบบวัจนะภาพอุปมาอุปไมย (VPMs) 2. ผู้บริโภคสามารถรับรู้ภาพ และเข้าใจความหมายโดยนัยของภาพอุปมาอุปไมยในงานโฆษณานิตยสารได้ถูกต้อง โดยเห็นว่าภาพอุปมาอุปไมยแบบภาพเดี่ยวสื่อความหมาย (MP1s) และแบบวัจนะภาพอุปมาอุปไมย (VPMs) เป็นภาพอุปมาอุปไมยที่เข้าใจ และแปลความหมายได้ง่ายที่สุด 3. ผู้บริโภคมีทัศนคติเชิงบวกต่อโฆษณานิตยสารที่ใช้ภาพแบบอุปมาอุปไมย โดยผู้บริโภคส่วนใหญ่มีทัศนคติเชิงบวกต่อภาพอุปมาอุปไมยแบบภาพเดี่ยวสื่อความหมาย (MP1s) มากที่สุด 4. ภาพโฆษณาแบบอุปมาอุปไมยมีแนวโน้มที่จะมีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค โดยภาพอุปมาอุปไมยแบบภาพเดี่ยวสื่อความหมาย (MP1s) เป็นภาพอุปมาอุปไมยที่สามารถก่อให้เกิดอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อได้มากที่สุด
dc.description.abstractalternative The objectives of this research were: (1) to study format and content of magazine advertisement using pictorial metaphor and (2) to study consumer’s cognition and attitude towards pictorial metaphor and consumer’s purchase intent towards products with advertisement using pictorial metaphor. Content analysis and focus group discussion were used to investigate these objectives, respectively. The results showed that: 1. There were four types of pictorial metaphor เท 81 advertisements: (1) pictorial metaphors with one pictorially present term (MP1s), (2) pictorial metaphors with two pictorially present terms (MP2s), (3) pictorial similes and (4) verbo-pictorial metaphors (VPMs.) 2. Respondents were able to understand all types of pictorial metaphor, especially MP1s and VPMs. 3. Respondents had positive attitudes towards all types of pictorial metaphor with MP1s being the most favourite. 4. Pictorial metaphors tend to influence respondents’ purchase intent, especially MP1s.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject โฆษณา en_US
dc.subject โฆษณาทางวารสาร en_US
dc.subject สัญศาสตร์ในโฆษณา en_US
dc.subject ผู้บริโภค -- ทัศนคติ en_US
dc.subject Advertising
dc.subject Advertising, Magazine
dc.subject Semiotics in advertising
dc.subject Consumers -- Attitudes
dc.title ความเข้าใจ ทัศนคติ และความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค ที่มีต่อภาพอุปมาอุปไมยประเภทต่างๆ ในงานโฆษณานิตยสาร en_US
dc.title.alternative Consumer's comprehension,attitude and purchase intent towards different types of pictorial metaphor in magazine advertising en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การโฆษณา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor chirapra@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record