dc.contributor.advisor |
เจนจิรา ปานชมพู |
|
dc.contributor.author |
ภัคจิรา ตังคจิวางกูร |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-05-29T08:39:33Z |
|
dc.date.available |
2020-05-29T08:39:33Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66054 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 |
en_US |
dc.description.abstract |
พริก เป็นเครื่องเทศที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง และมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมการบริโภคของคนไทยมาเป็นเวลาช้านาน โดยพริกแต่ละสายพันธุ์นั้นจะมีรสชาติ ความเผ็ดแตกต่างกันออกไป ซึ่งสารสาคัญที่ทาให้พริกมีความเผ็ดคือ “แคปไซซิน” การวิเคราะห์หาปริมาณแคปไซซินทาได้หลายวิธี ในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีทางเคมีไฟฟ้า ซึ่งเป็นวิธีที่ง่าย ให้สัญญาณสูง วิเคราะห์สารได้รวดเร็ว อุปกรณ์มีขนาดเล็ก และใช้สารปริมาณน้อยในการวิเคราะห์ ผู้วิจัยได้ทาการตรวจวัดแคปไซซินในสารละลายอิเล็กโทรไลต์เกื้อหนุนชนิดต่าง ๆ ด้วยเทคนิค ไซคลิกโวลแทมเมตรีและสแควร์เวฟโวลแทมเมตรี โดยใช้ขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนชนิดต่าง ๆ ที่เตรียมขึ้นเองในห้องปฏิบัติการ พบว่า แคปไซซินในสารละลายผสมของเอทานอล (10 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร) และกรดซัลฟิวริกมีประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ที่ดีบนขั้วไฟฟ้ากราฟีนพิมพ์สกรีน โดยสามารถสังเกตเห็นพีกออกซิเดชันของแคปไซซินได้ชัดเจนที่ศักย์ไฟฟ้าที่เป็นบวกน้อยที่สุด และให้กระแสไฟฟ้าของพีกออกซิเดชันของแคปไซซินสูงที่สุด เมื่อนาวิธีวิเคราะห์ที่พัฒนาขึ้นนี้ มาใช้ตรวจวัดแคปไซซินในตัวอย่างซอสพริกโดยใช้ขั้วไฟฟ้ากราฟีนพิมพ์สกรีน พบว่า ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Chilli is one of the important economic spices and has primarily been a part of Thai culinary culture for a long time. Each chilli species typically has different pungent flavor. The spicy taste of chilli results from a chemical compound called “capsaicin”. The quantitative analysis of capsaicin can be done by several methods. In this work, the electrochemical technique has been developed for the detection of capsaicin as it is simple, sensitive and rapid, as well as the device can be miniaturized with small volume of solution used for the analysis. The measurement of capsaicin has been investigated in various types of supporting electrolytes by cyclic voltammetry (CV) and square wave voltammetry (SWV) at different types of screen-printed electrodes, prepared in the laboratory. The results show that capsaicin in 10% v/v ethanol and sulfuric acid electrolyte, recorded at the graphene screen-printed electrode, gives a well-define oxidation peak at a less positive potential value with the highest oxidation peak current. This developed electrochemical method is then applied to detect capsaicin in chilli sauce, and the obtained results are satisfactory. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.title |
การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดแคปไซซินในพริกโดยใช้ขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีน |
en_US |
dc.title.alternative |
Development of electrochemical method for determination of capsaicin in chilli peppers using screen-printed electrodes |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Janjira.P@chula.ac.th |
|