DSpace Repository

การพยากรณ์ความั่นคงของสถาบันการเงินในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor โสตถิธร มัลลิกะมาส
dc.contributor.author สุชาดา รัตนนรเศรษฐ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-06-04T07:51:28Z
dc.date.available 2020-06-04T07:51:28Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.isbn 9741704356
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66178
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 en_US
dc.description.abstract งานศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพี่อหาปัจจัยที่มีผลต่อระดับความมั่นคงของสถาบันการเงิน โดยจะทำการทดสอบอัตราส่วนทางการเงินว่ามีผลต่อการแบ่งกลุ่มสถาบันการเงินที่ถูกปิดกิจการออกจากสถาบันการเงินที่ไม่ถูกปิดกิจการหรือไม่ และทดสอบว่ามีผสต่อการแบ่งกลุ่มสถาบันการเงินที่ไม่ ถูกปิดกิจการออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ สถาบันการเงินที่เป็นของรัฐ สถาบันการเงินกลุ่มที่เป็นของต่างชาติ และสถาบันการเงินที่เป็นของเอกชนไทย ได้หรือไม่ โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ทุกแห่งที่เปิดดำเนินงานในไทยในปี 2537-2539 ซึ่งมี จำนวนทั้งหมด 106 แห่ง ใช้แบบจำลอง Logit และใช้ข้อมูลแบบ pooled data ผลการศึกษาพบว่าตัวแปรที่มีผลต่อการถูกปิดกิจการของสถาบันการเงิน คือปัญหาหนี้สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ และประสิทธิภาพในการทำกำไร รวมถึงขนาดของกิจการที่เล็กเกินไปทำให้ความสามารถในการแข่งขันตํ่า พบว่าสถาบันการเงินที่ปล่อยสินเชื่อโดยไม่ระบัดระวังทำให้หลักประกัน เสื่อมค่าลงเมื่อเศรษฐกิจตกตํ่าจนไม่คุ้มหนี้ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้มีต้นทุนในการกันสำรองที่สูงจนเป็นสาเหตุให้ต้องปิดกิจการลง และสถาบันการเงินที่มีความสามารถในการแข่งขันตํ่าเนื่องจากมีต้นทุนสูง ซึ่งมีความ สัมพันธ์กับขนาดกิจการที่เล็กจงทำให้ต้องเสนอดอกเบี้ยที่สูงเพี่อจูงใจผู้ฝาก และมีอำนาจการต่อรองรวมถึงความได้เปรยบจากการประหยัดต่อขนาดน้อยกว่า จึงมีความสามารถในการทำกำไรได้น้อยกว่า เมื่อพิจารณาสถาบันการเงินที่เป็นของกลุ่มทุนต่างชาติพบว่ากิจการมีขนาดเล็กกว่าสถาบันการเงินที่เป็นของรัฐ แต่มีอัตราการทำกำไรอยู่ในเกณฑ์ที่ดกว่า นอกจากนี้ยังพบว่า สถาบันการเงินที่สามารถเพี่มทุนเองได้นั้นเมื่อเทียบกับสถาบันการเงินที่เป็นของรัฐแล้ว มีความแข็งแกร่งทางการเงินในทุกด้านดีกว่าสถาบันการเงินที่เป็นของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นด้านเงินกองทุน การทำกำไร คุณภาพสินทรัพย์ และ สภาพคล่อง
dc.description.abstractalternative The objective of this study is to find the factors that influence on the soundness of financial institutions. To obtain these factors, financial ratios could be tested whether they can discriminate between closed firms and non-closed firms. After the crisis in 1997, the remaining financial institutions were divided into 3 categories consist of the state-owned institutions, majority-owned by foreigners and majority-owned by Thais. To go further on finding factors that separate these 3 groups out of each other, financial ratios were tested again. The sample were used in this study comprises 106 financial institutions in Thailand in 1994-1996 by using pooled data and Logit model. According to the result, the important factors effect stability of financial institutions which make them to be closed are non-performing loans, low profitability and too small size of firm. Lending carelessly before 1997 became non-performing loans which increase the financial institutions’ cost immensely and led them closed finally. Low competitive ability relatives with size of firm makes them offer higher interest rates and have no advantage from economy of scale so they can’t have high profitability, For the difference between 3 groups of the remaining institutions found that the majority-owned by foreigners have smaller size than those majority-owned by Thais but have higher profitability. And majority owned by Thais compared with state-owned institutions have all better financial ratios including capital adequacy ratio, profitability ratio, asset quality ratio and liquidity ratio.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject สถาบันการเงิน -- ไทย en_US
dc.subject วิกฤตการณ์การเงิน -- ไทย en_US
dc.subject ตลาดเงิน en_US
dc.subject Financial institutions -- Thailand
dc.subject Financial crises -- Thailand
dc.subject Money market
dc.title การพยากรณ์ความั่นคงของสถาบันการเงินในประเทศไทย en_US
dc.title.alternative Failure prediction of Thailand Financial Institutions en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline เศรษฐศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Sothitorn.M@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record