dc.contributor.advisor |
อัคนีวุธ ชะบางบอน |
|
dc.contributor.advisor |
สันติ ภัยหลบลี้ |
|
dc.contributor.author |
สุชัจจ์กุล เข็มเพชร |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-06-06T08:51:09Z |
|
dc.date.available |
2020-06-06T08:51:09Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66207 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 |
en_US |
dc.description.abstract |
เมืองที่มีคูน้ำโบราณหรือเมืองที่ล้อมรอบด้วยคูน้ำโบราณ คือเมืองหรือชุมชนเก่าซึ่งได้มีการขุดคูน้ำล้อมรอบโดยฝีมือของมนุษย์เพื่อประโยชน์ในการใช้สอย การป้องกันตัว และเหตุผลอื่นๆ โดยในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้นได้มีการศึกษารวบรวมข้อมูลและนิยามเมืองที่มีคูน้ำโบราณไว้ทั้งหมด 297 แห่งด้วยกัน ด้วยวิธีการศึกษาจากภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม และการลงศึกษาพื้นที่ ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ได้นำข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์โดยมีจุดประสงค์ในการศึกษาอยู่ 2 ประการคือ 1) คาดการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองที่มีคูน้ำโบราณและพิบัติภัย โดยการนำข้อมูลความสูง ขนาด และจำนวนชั้นของคูน้ำของเมืองที่มีคูน้ำโบราณทั้ง 297 แห่ง มาเปรียบเทียบลำดับชั้นน้ำและระยะห่างจากแม่น้ำใกล้เคียง 2) ศึกษาเส้นทางการคมนาคมจากการหาความสัมพันธ์ระหว่างเมืองที่มีคูน้ำโบราณและช่องเขาซึ่งเชื่อมต่อระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือประเทศไทยกับประเทศเขมร เพื่อศึกษาว่าช่องเขาใดมีความเหมาะสมมากที่สุดที่จะเป็นช่องทางการคมนาคมหลักระหว่างทั้งสองพื้นที่ ผลการศึกษาสรุปว่าชุมชนเก่าในพื้นที่ตะวันออกเฉียงเหนือนั้นมีการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมตามถิ่นฐานที่อาศัยโดยการถมพื้นที่ภายในคูน้ำในลักษณะเนินดินเพื่อเป็นการป้องกันน้ำท่วม โดยชุมชนเก่าที่อยู่ในบริเวณที่ราบน้ำท่วมถึงนั้นจะพบเนินดินที่มีความสูงโดยเฉลี่ยสูงกว่าความสูงเนินดินของชุมชนในบริเวณตะพักลำน้ำเพื่อเป็นการป้องกันพิบัติภัยจากน้ำท่วมที่มีความรุนแรงต่างกัน นอกจากนั้นจากการวิเคราะห์ระยะทางระหว่างเมืองที่มีคูน้ำโบราณแต่ละแห่งและช่องเขาสรุปได้ว่าเส้นทางที่มีความเหมาะสมที่จะใช้เป็นเส้นทางการติดต่อเดินทางระหว่างทั้งสองพื้นที่ คือช่องเขาตาเมือนและช่องเขากร่าง ซึ่งทั้งสองช่องเขานั้นตั้งอยู่บนบริเวณเดียวกันกับที่เส้นทางราชมรรคาที่เคยใช้ในการติดต่อเดินทางระหว่างพิมายและนครวัดพาดผ่าน |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Ancient moated site is a community or area that have surrounded by moat for multiple purposes such as storage, defensive structure or other means. Moated sites in northeastern of Thailand have been defined and recorded to be 297 sites by using aerial photo, satellite image and site excavation. In this research I have analyze these data by geographic information system for 2 main purposes. The first purpose is to predict relation between ancient moated site and hydrological hazard by collecting height, size and number of moat data of 297 moated sites then compare their relationship with stream order and distance to nearby river. For second purpose is to predict the most possible transportation route from relationship between ancient moated site and mountain pass connecting northeastern of Thailand and Cambodia. The result of this research shows that ancient moated site in this region have adapt to its environment by having higher mound in floodplain and lower mound in terrace region for prevent flood of different degree. Moreover from the relation between moated site and mountain pass shows that Ta muen route and Krang route are the highest possible choice for transportation between 2 regions which is the same passage as Royal roads connecting Pimai and Angkor wat once used. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.title |
การวิเคราะห์ภูมิสารสนเทศและสถิติของเมืองที่มีคูน้ำโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย: การคมนาคมและพิบัติภัยธรรมชาติ |
en_US |
dc.title.alternative |
GIS and Statistical Analysis of Ancient Moated Site in the Northeastern Thailand: Transportation and Natural Hazard |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Akkaneewut.C@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Santi.Pa@Chula.ac.th |
|