DSpace Repository

การแยกสารแคปไซซินอยด์และแคโรทีนอยด์จากสิ่งสกัดพริกโดยใช้เรซิน

Show simple item record

dc.contributor.advisor พัฒทรา สวัสดี
dc.contributor.author เกศรินทร์ เด่นเกศินีฉวี
dc.contributor.author ธัญญารีย์ ฉัตรทวีสิทธิ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-06-12T15:57:46Z
dc.date.available 2020-06-12T15:57:46Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66298
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 en_US
dc.description.abstract ในการทดลองนี้ทำการแยกสารแคปไซซินอยด์ และแคโรทีนอยด์จากสิ่งสกัดพริกด้วยวิธี คอลัมน์โครมาโทกราฟี ทำการเปรียบเทียบเรซิน 3 ชนิด ได้แก่ Diaion HP-20, Amberlite XAD-1180 และ Amberlite XAD7HP ในอัตราส่วนระหว่างสิ่งสกัดพริกต่อเรซิน เท่ากับ 1:4 ทั้งหมด มีน้ำ เอทานอล 95% และอะซีโทนเป็นวัฏภาคเคลื่อนที่พบว่าในการแยกสารด้วย Amberlite ทั้ง 2 ชนิดให้ผลการทดลองที่ไม่สอดคล้องกัน และส่วนย่อยน้ำและอะซีโทนที่ได้จาก Diaion HP-20 ไม่ตรวจพบสารแคปไซซินอยด์ด้วยเทคนิค HPLC แต่พบสารแคปไซซินอยด์และ แคโรทีนอยด์ในส่วนย่อยเอทานอล นอกจากนี้ส่วนย่อยเอทานอลยังมีความสามารถในการละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ที่ดีกว่าสิ่งสกัดพริก และส่วนย่อยอะซีโทนยังมีสารแคโรทีนอยด์ มากกว่าสิ่งสกัดพริกแม้เก็บไว้ในตู้แช่แข็งเป็นระยะเวลา 2 เดือน en_US
dc.description.abstractalternative In this study, three macroresins; Diaion HP-20, Amberlite XAD-1180 and Amberlite XAD7HP, were studied for their efficiency in separation of capsaicinoids and carotenoids from chili extract. The ratio between the weight of extract and resin was 1:4 and the resin column was eluted by deionized water, 95% ethanol and acetone, respectively. The separation results of both Amberlites were not reproducible. The water and acetonic fractions from Diaion HP-20 column was not found capsaicinoids detected by HPLC analysis. The ethanolic fraction of this resin contained both capsaicinoids and carotenoids. Moreover, the solubility in organic solvents of this ethanolic fraction was found to be better than those of chili extract. The carotenoids in the acetonic fraction were higher than those in the chili extract even after two months storage in the freezer. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject พริก -- สารสกัด en_US
dc.title การแยกสารแคปไซซินอยด์และแคโรทีนอยด์จากสิ่งสกัดพริกโดยใช้เรซิน en_US
dc.title.alternative Capsaicinoids and Carotenoids Separation from Chili Extract Using Resins en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Paragraphed.T@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record