dc.contributor.advisor |
ณัฐพร พานโพธิ์ทอง |
|
dc.contributor.author |
วิสันต์ สุขวิสิทธิ์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-06-13T12:51:30Z |
|
dc.date.available |
2020-06-13T12:51:30Z |
|
dc.date.issued |
2547 |
|
dc.identifier.isbn |
9741768427 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66302 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 |
en_US |
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาวัจนกรรมการบริภาษในภาษาไทย โดยใช้ข้อมูลจากบทสนทนาในนวนิยาย และบทสนทนาในชีวิตจริง ซึ่งผู้วิจัยเป็นผู้ร่วมเหตุการณ์และผู้สังเกตการณ์ ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริภาษในภาษาไทยใช้กลวิธีการบริภาษ ๓ กลวิธี คือ ๑) กลวิธีการบริภาษแบบตรงไปตรงมา ซึ่งได้แก่ การบริภาษด้วยคำหยาบ และ การบริภาษด้วยคำที่มีความหมายทางลบ ๒) กลวิธีการบริภาษแบบอ้อม ซึ่งประกอบด้วย ๕วิธี คือ การใช้ถ้อยคำนัยผกผัน การใช้ความเปรียบ การใช้คำรื่นหู การบริภาษแบบไม่เจาะจงเป้าหมาย และการแสร้งบริภาษสงอื่น และ ๓) กลวิธีเสริมการบริภาษ ซึ่งได้แก่ การใช้คำหยาบที่มีนัยเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างผู้พูดและผู้ฟัง และการใช้คำอุทานเพื่อแสดงความรู้สึกทางลบ ถ้อยคำบริภาษสะท้อนให้เห็นค่านิยมบางประการในสังคมไทย เช่น การไม่เคารพ เชื่อฟังผู้อาวุโส การว่าร้ายผู้อื่น เป็นพฤติกรรมที่สังคมไม่ยอมรับ การมีสติปัญญาน้อยหรือผิวคล้ำถือว่าด้อยในสังคมไทย เป็นต้น ส่วนผลของการบริภาษที่เกิดขึ้นกับผู้ถูกบริภาษนั้นพบว่า กลวิธีการบริภาษต่างๆ นั้นสามารถส่งผลกระทบแก่ผู้ถูกบริภาษใน ๓ ลักษณะ คือ การแสดงว่าผู้ถูกบริภาษไม่ได้รับความเคารพจากผู้บริภาษ แสดง ว่าผู้ถูกบริภาษเป็นผู้ที่สังคมไม่ยอมรับ และกีดกันผู้ถูกบริภาษออกจากกลุ่ม |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aims at examining the speech act of reprimanding in Thai. The data elicited includes conversations from six novels as well as daily interaction where the researcher participated or observed. It is found that Thai speakers adopt both direct and indirect strategies of reprimanding. The direct strategies include cursing and using words or idioms with negative meaning. The indirect strategies consist of 5 substrategies. That is, using verbal irony with sarcastic intent, using metaphor to criticize the target, using euphemism, using ambiguous insults, and attacking others related to the target. It is also found that the speaker sometimes uses supporting strategies which include using words expressing negative feeling towards the target. It is also found that expressiors used in the act of reprimanding reflect some values in the Thai society. For instance, being aggressive or not obedient to elders and talking against others are considered unacceptable in the society. Being a slow thinker or having dark complexion are considered to be inferior in the Thai culture. In terms of the effect to the target, this study reveals that the act of reprimanding can threaten the target in 3 ways. That is, showing that the target is not recognized by the speaker, showing that the target is not accepted to the society, and dissociating the target. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.936 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ภาษาไทย--การใช้ภาษา |
en_US |
dc.subject |
ภาษาไทย--คำและวลี |
en_US |
dc.subject |
ภาษาไทย--บทสนทนาและวลี |
en_US |
dc.subject |
วัจนกรรม |
en_US |
dc.subject |
Thai language--Usage |
en_US |
dc.subject |
Thai language--Terms and phrases |
en_US |
dc.subject |
Speech acts (Linguistics) |
en_US |
dc.title |
วัจนกรรมการบริภาษในภาษาไทย |
en_US |
dc.title.alternative |
The speech act of reprimanding in Thai |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
ภาษาไทย |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Natthaporn.P@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2004.936 |
|