DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมนิทานภาคใต้กับวรรณกรรมสุนทรภู่ และภาพสะท้อนของวัฒนธรรมท้องถิ่น

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต
dc.contributor.author ศิรินทิพย์ สุขีรัตน์
dc.date.accessioned 2020-06-14T09:26:32Z
dc.date.available 2020-06-14T09:26:32Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.isbn 9741769725
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66318
dc.description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาวรรณกรรมนิทานภาคใต้เรื่องโคบุดลักษณวงศ์ สิงหไกรภพ และะพระอภัยมณี ในด้านเนื้อหา กลวิธีการแต่ง ภาษาสำนวนโวหารและภาพสะท้อนของวัฒนธรรมท้องถิ่นใต้ และศึกษาเปรียบเทียบเรื่องดังกล่าวข้างต้นของสุนทรภู่ในต้านต่าง ๆ ผลการวิจัยพบว่าวรรณกรรมนิทานภาคใต้ได้รับอิทธิพลทางด้านเนื้อหาจากวรรณกรรมสุนทรภู่ แบ่งความสัมพันธ์ได้เป็น 2 ลักษณะคือ ลักษณะแรกเป็นการนำนิทานสุนทรภู่มาจารขึ้นใหม่ ฉันทลักษณ์และเนื้อเรื่องตรงตามต้นฉบับ ลักษณะที่สอง เป็นการนำเค้าเรื่องของวรรณกรรมสุนทรภู่มาแต่งเป็นสำนวนท้องถิ่นใต้มีการขยายความ ละความ สับลำดับความ และเปลี่ยนรายละเอียดของเรื่อง แม้ว่าวรรณกรรมนิทานภาคใต้จะได้รับอิทธิพลทั้งด้านเนื้อหาและกลวิธีการแต่งจากวรรณกรรมสุนทรภู่ แต่ในขณะเดียวกันวรรณกรรมนิทานภาคใต้ก็มีกลวิธีการแต่งที่สอดคล้องกับความนิยมของท้องถิ่นใต้ และสะท้อนภาพวัฒนธรรมท้องถิ่นใต้หลายประการ อาทิ ภาษาและ สำนวนโวหาร ประเพณี มหรสพและการละเล่น ค่านิยม อาหารประจำท้องถิ่น เป็นต้น เมื่อเปรียบเทียบกับวรรณกรรมเรื่องเดียวกันของสุนทรภู่ ทำให้เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณกรรมนิทานภาคใต้ทั้ง 4 เรื่องได้อย่างละเอียดลึกขึ้งมากขึ้น
dc.description.abstractalternative The objectives of this thesis aim at to studying Thai southern versions of literary tales: Kobud, Laksanawong, Singhakraiphop and Phra Aphaimani, regarding the content, language use, techniques of composition and reflection of local culture; and also at comparing the same tales in various aspects. The results show that the content of Sunthorn Phu’s literary works influenced southern versions of literary tales and the relationship can be categorised into two groups. First is the group in which the southern versions are reproduced by maintaining the versification and the story of these in the original. Secondly is the group in which the southern versions only Sunthorn Phu’s plots and reproduced them in the popular versification forms, used in southern literary works. Moreover, they are adapted by extending the story, omitting some events changing the order of some events. Although the Southern version of literary tales are influenced by Southorn Phu's literary works, they have their own techniques of composition that comply with the taste of the South and reflect many aspects of local culture such as language use, traditions, performances, values, local cuisine, etc. The comparative study of Sunthorn Phu’s four literary works, thus, enables US to understand and appreciate more the four Southern literary tales.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.981
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject สุนทรภู่, 2329-2398 -- การวิจารณ์และการตีความ SUBJECT 650 7 SUBJECT 650 7 en_US
dc.subject นิทาน -- ไทย (ภาคใต้) en_US
dc.subject วรรณกรรมไทย (ภาคใต้) en_US
dc.subject Sunthorn Phu, 1786-1855 -- Criticism and interpretation en_US
dc.subject Tales -- Thailand, Southern en_US
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมนิทานภาคใต้กับวรรณกรรมสุนทรภู่ และภาพสะท้อนของวัฒนธรรมท้องถิ่น en_US
dc.title.alternative The relationship between Southern versions of tales and Sunthorn Phu's literary works and reflection of local culture en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name อักษรศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วรรณคดีไทย en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Cholada.R@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2004.981


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record