DSpace Repository

การสังเคราะห์และสมบัติทางแสงของอนุพันธ์ 1,8-แนพทาลิไมด์

Show simple item record

dc.contributor.advisor ไพฑูรย์ รัชตะสาคร
dc.contributor.author เมธิรา ชัยตระกูลเสรี
dc.contributor.author ฐิติมา วุฒิจามร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-06-14T16:22:17Z
dc.date.available 2020-06-14T16:22:17Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66333
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 en_US
dc.description.abstract อนุพันธ์เรืองแสงของ 1,8-แนพทาลิไมด์หลายชนิดได้ถูกออกแบบและสังเคราะห์ เพื่อนำไปศึกษาสมบัติการเรืองแสงและประเมินความเหมาะสมในการใช้งานเป็นตัวให้สัญญาณในฟลูออเรสเซนต์เซนเซอร์หรือวัสดุเรืองแสงในอุปกรณ์ออพติคัลอิเล็กทรอนิคส์ การสังเคราะห์เริ่มต้นด้วยปฏิกิริยาอิมิเดชันของ 4-โบรโม-1,8-แนพทาลิก แอนไฮดรายด์ด้วยอะนิลีน และปฏิกิริยาการแทนที่บนวงอะโรมาติกด้วยนิวคลีโอไฟล์ โดยนิวคลีโอไฟล์ดังกล่าวแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มสารประกอบอะลิฟาติกเอมีนที่มีความชอบน้ำ (หมู่อะมิโนไกลคอล) และกลุ่มของสารประกอบอะโรมาติกที่ไม่ชอบน้ำ (หมู่อะนิลีนและหมู่ฟีนอล) ผลการทดลองพบว่าปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอะลิฟาติกเอมีนหรือฟีนอกไซด์สามารถเกิดได้โดยง่ายและให้เปอร์เซนต์ผลได้ที่สูง แต่ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยอะโรมาติกเอมีนนั้นไม่สามารถเกิดขึ้นได้หากปราศจากตัวเร่งปฏิกิริยาจำพวกสารเชิงซ้อนของพัลเลเดียม ผลการศึกษาสมบัติทางแสงของสารพบว่า การแทนที่โบรมีนด้วยไนโตรเจนนิวคลีโอไฟล์จะทำให้สารเรืองแสงความยาวคลื่นของการดูดกลืนแสงสูงสุดและความยาวคลื่นของการคายพลังงานแสงสูงสุดยาวกว่าการแทนที่ด้วยออกซิเจนนิวคลีโอไฟล์ en_US
dc.description.abstractalternative Several derivatives of 1,8-naphthalimide were designed and synthesized for the fluorescent properties study and evaluation for appropriate uses as signal transducers in fluorescent sensors or emissive material in optoelectronic devices. The synthesis began with imidation reaction of 4-bromo-1,8-naphthalic anhydride with aniline, followed by a nucleophilic aromatic substitution by two groups of nucleophiles – hydrophilic aliphatic amines (amino glycols) and hydrophobic aromatic groups (aniline and phenoxide). The results indicated that substitution by an aliphatic amine or phenoxide took place with ease and gave the products in high yield. However, the substitution by an aromatic amine was not possible without a catalysis by palladium complex. The photophysical studies found that the replacement of the bromine by nitrogen nuclephile gave rise to compounds with longer absorption and emission maximum wavelengths compared to compounds with oxygen substituent. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.title การสังเคราะห์และสมบัติทางแสงของอนุพันธ์ 1,8-แนพทาลิไมด์ en_US
dc.title.alternative Synthesis and optical properties of 1,8-naphthalimide derivatives en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Paitoon.R@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record