dc.contributor.advisor |
สันติ ทิพยางค์ |
|
dc.contributor.author |
สุวิศิษฎ์ กลัดสอาด |
|
dc.contributor.author |
ธนัท พึ่งโพธิ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-06-17T04:51:52Z |
|
dc.date.available |
2020-06-17T04:51:52Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66428 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 |
en_US |
dc.description.abstract |
จากการนำเปลือกของต้นมะควัดที่แห้งมาสกัดด้วยไดคลอโรมีเทนเมื่อนำสิ่งสกัดไดคลอโรมีเทนมาแยกโดยการทำคอลัมน์โครมาโทกราฟี ซึ่งใช้ซิลิกาเจลเป็นตัวดูดซับร่วมกับเทคนิค TLC แล้วทำให้บริสุทธิ์ด้วยเทคนิคโครมาโททรอนตามลำดับ สามารถแยกสารในกลุ่มไตรเทอร์พี นอยด์ ได้สารหลัก 2 ชนิดคือ ลูพีออล (1) และกรดบิทูลินิก (2) จากนั้นทำการเตรียมอนุพันธ์ ของสารทั้งสองชนิด ได้สารทั้งหมด 18 ชนิด โดยเป็นอนุพันธ์ชนิดใหม่ 7 ชนิด คือ (1d และ 2g-2l) และอนุพันธ์ที่มีรายงานแล้ว 11 ชนิด คือ (1a-1c, 1e-1f และ 2a-2f) โดยการพิสูจน์ โครงสร้างของสารบริสุทธิ์ ทั้ง 20 ชนิดที่ได้ อาศัยสมบัติทางกายภาพและวิธีการทางสเปกโทรส โกปีร่วมกับการเปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีการรายงานมาแล้ว จากการทดสอบฤทธิ์ ในการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสของยีสต์พบว่า สาร 2 และ 2a มีฤทธิ์ ในการยับยั้งเอนไซม์แอลฟา กลูโคซิเดสได้ดี โดยมีค่า IC₅₀ เท่ากับ 16.26 และ 28.07 ไมโครโมลาร์ตามลำดับ เมื่อเทียบกับ สารมาตรฐานอะคาร์โบส (IC₅₀ = 526.64 ไมโครโมลาร์) ส่วนสารที่เหลือ มีฤทธิ์ ในการยับยั้ง เอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส ตั้งแต่ปานกลางถึงไม่มีฤทธิ์ เนื่องจากมี IC50 มากกว่า 600 ไมโคร โมลาร์ จากการศึกษาจลนพลศาสตร์ของเอนไซม์ด้วยการสร้างกราฟไลน์วีเวอร์-เบิร์ก พบว่า สาร 2 แสดงการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แบบแบบผสม |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Air-dried and powdered stem bark of Ziziphus rugosa was extracted with methanol (MeOH). The MeOH crude extract was chromatographed on silica gel open column and monitored with TLC and further purified with chromatotron which led to the isolation of two major triterpenoids, lupeol (1) and betulinic acid (2). These triterpenoids (1 and 2) were derivatized to be seven new analogues (1d and 2g-2l) and eleven known compounds (1a-1c, 1e-1f, and 2a-2f). Their structures were determined by spectroscopic methods as well as comparison with previous reports in the literature. Moreover, all compounds were evaluated for their α-glucosidase activity. Compound 2 and 2a showed potent inhibitory activity towards α-glucosidase with an IC50 value of 16.26 and 28.07 μM, respectively when compared to the standard acarbose (IC₅₀ = 526.64 μM), other compounds were regarded as moderate to no activities (IC₅₀ > 600 μM). Lineweaver-Burk plot indicated that 2 was a mixed mode inhibitor of α-glucosidase enzyme. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
มะควัด -- สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ |
en_US |
dc.subject |
มะควัด -- วิเคราะห์และเคมี |
en_US |
dc.title |
การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากเปลือกต้นมะควัด Ziziphus rugosa |
en_US |
dc.title.alternative |
Chemical constituents and biological activities from the stem bark of Ziziphus rugosa. |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Santi.Ti@Chula.ac.th |
|