DSpace Repository

การเตรียมอนุภาคแคลเซียมแอลจิเนต/เอ็น-บิวทิลไคโตซานเพื่อควบคุมการปลดปล่อยกลูโคซามีน

Show simple item record

dc.contributor.advisor วราวุฒิ ตั้งพสุธาดล
dc.contributor.advisor ปราณี โรจน์สิทธิศักดิ์
dc.contributor.author ธาราวดี ธรรมนาญ
dc.contributor.author ปิยพัชร์ จันทร์ชูชื่น
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-06-17T05:36:00Z
dc.date.available 2020-06-17T05:36:00Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66436
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 en_US
dc.description.abstract ในงานวิจัยนี้ได้ทำการเตรียมอนุภาคที่มีขนาดระดับไมโครเมตรจากกระบวนการ ionotropic gelation ระหว่าง แคลเซียมแอลจิเนต และเอ็น-บิวทิลไคโตซาน เพื่อนำอนุภาคมาใช้ในการกักเก็บและควบคุมการปลดปล่อย กลูโคซามีน ซึ่งสังเคราะห์เอ็น-บิวทิลไคโตซานโดยการทำปฏิกิริยากันระหว่างไคโตซานกับบิวทิรัลดีไฮด์ ที่มีระดับการ แทนที่ของหมู่บิวทิลที่หมู่อะมิโนบนสายโซ่ไคโตซานเป็น 10, 30 และ 40% จากนั้นนำไปเตรียมอนุภาคเอ็น-บิวทิลไค โตซาน-แคลเซียมแอลจิเนต โดยศึกษาขนาดของอนุภาคและสัณฐานวิทยาของอนุภาค ประสิทธิภาพในการกักเก็บและ แบบแผนในการปลดปล่อยกลูโคซามีนจากอนุภาค และการบวมตัวของอนุภาคในฟอสเฟตบัฟเฟอร์ที่มีพีเอช 1.2 และ 7.4 วิเคราะห์ขนาด และสัณฐานวิทยาของอนุภาคเอ็น-บิวทิลไคโตซาน-แคลเซียมแอลจิเนต และอนุภาคไคโตซาน- แคลเซียมแอลจิเนต ที่เตรียมได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด พบว่า อนุภาคมีขนาดเฉลี่ยคือ 1.00 ± 0.05 มิลลิเมตร ประสิทธิภาพในการกักเก็บกลูโคซามีน (Entrapment efficiency: EE) ของอนุภาคไคโต ซาน-แคลเซียมแอลจิเนต และอนุภาคเอ็น-บิวทิลไคโตซาน-แคลเซียมแอลจิเนตที่เตรียมจากเอ็น-บิวทิลไคโตซานโดยมี ระดับการแทนที่เท่ากับ 10, 30 และ40% คือ 0.7, 0.47, 0.82, และ 0.57% ตามลำดับ โดยที่มีปริมาณกลูโคซามีนต่อ น้ำหนักอนุภาค (Loading capacity: LC) คือ 0.53, 0.35, 0.43 และ 0.43% ตามลำดับ โดยค่า EE และ LC มีค่าต่ำ เมื่อเทียบกับงานวิจัยก่อนหน้า นอกจากนี้การบวมของอนุภาคในน้ำที่ pH 1.2 อนุภาคไม่บวมตัว และที่ pH 7.4 พบว่าค่าดัชนีการบวมตัวมีค่าลดลง เมื่อเอ็น-บิวทิลไคโตซานมีระดับการแทนที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งพบว่าที่pH 7.4 อัตรา การปลดปล่อยกลูโคซามีนของอนุภาคนั้นจะลดลง เมื่อเอ็น-บิวทิลไคโตซาน-แคลเซียมแอลจิเนต ที่มีระดับการแทนที่ เพิ่มขึ้นจาก 10–40% en_US
dc.description.abstractalternative This work covers the preparation of micron-sized particles by ionotropic gelation between calcium alginate and N-butyl chitosan. The obtained particles were used to entrap glucosamine with the aim to produce a controlled release system. N-butyl chitosan was prepared by the reaction of chitosan with butyraldehyde, resulting in butyl group substitution of 10, 30, and 40% of all amino groups on chitosan chains. Then, the particles of calcium alginate/N-butyl chitosan were prepared. The size of particles, morphology, entrapment efficiency, release profile of glucosamine, and particle swelling in pH 1.2 and 7.4 phosphate buffer were investigated. The size and morphology of N-butyl chitosan-calcium alginate and chitosan-calcium alginate particle were measured by SEM. The average particle size was 1.00 ± 0.05 mm. Entrapment efficiencies (EE) of calcium alginate particle-chitosan or N-butyl chitosan with 10, 30, and 40% butyl group substitution were 0.70, 0.47, 0.82, and 0.57%, respectively. Glucosamine loading capacities (LC) were 0.53, 0.35, 0.43, and 0.43% respectively. The EE and LC were rather low compared to results reported earlier. At pH 1.2,the particles did not swell, but at pH 7.4, the swelling index decreased when degree of butyl group substitution of N-butyl chitosan increased. The release of glucosamine loaded particles was investigated in phosphate buffer solution at pH 7.4. The results showed that glucosamine was released decreasingly, when the degree of substitution of butyl group was increased from 10 to 40%. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject กลูโคซามีน en_US
dc.subject Glucosamine en_US
dc.title การเตรียมอนุภาคแคลเซียมแอลจิเนต/เอ็น-บิวทิลไคโตซานเพื่อควบคุมการปลดปล่อยกลูโคซามีน en_US
dc.title.alternative Preparation of calcium alginate/N-butyl chitosan particles for controlled release of glucosamine en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Varawut.T@Chula.ac.th
dc.email.advisor Pranee.L@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record