dc.contributor.advisor |
อรุณศิริ ชิตางกูร |
|
dc.contributor.author |
ฑิตา ตั้งฤทัยวานิชย์ |
|
dc.contributor.author |
รมิดา วะสิโน |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-06-17T06:43:14Z |
|
dc.date.available |
2020-06-17T06:43:14Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66448 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 |
en_US |
dc.description.abstract |
แลคโทนเป็นสารไครัลที่ใช้เป็นสารให้รสและสารแต่งกลิ่น ซึ่งแต่ละอิแนนทิโอเมอร์จะให้ รสหรือกลิ่นที่แตกต่างกัน งานวิจัยนี้ศึกษาผลของอุณหภูมิที่มีต่อการแยกคู่อิแนนทิโอเมอร์ของ แลคโทนที่มีโครงสร้างที่แตกต่างกันทั้งหมด 13 ชนิด ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟีที่มี heptakis(2-O-methyl-3-O-acetyl-6-O-tert-butyldimethylsilyl)-β-cyclodextrin (หรือ MeAc) เป็นเฟสคงที่ชนิดใหม่ เปรียบเทียบผลที่ได้กับเฟสคงที่ที่มีมาก่อนแล้ว คือ heptakis(2,3-di-Oacetyl- 6-O-tert-butyldimethylsilyl)-β-cyclodextrin (หรือ diAc) และ heptakis(2,3-di-Omethyl- 6-O-tert-butyldimethylsilyl)-β-cyclodextrin (หรือ diMe) เพื่อศึกษาผลของชนิดของหมู่ แทนที่ของไซโคลเดกซ์ทรินที่มีต่อการแยก พบว่าทั้งสามคอลัมน์แยกคู่อิแนนทิโอเมอร์ของแลค โทนส่วนใหญ่ได้ดี ยกเว้น α-acetylbutyrolactone (H) อุณหภูมิคอลัมน์มีผลต่อการแยกคู่อิ แนนทิโอเมอร์ของแลคโทนที่มีหมู่แทนที่ขนาดเล็กและเกะกะ โดยเฉพาะในคอลัมน์ diAc อย่างไรก็ตามคอลัมน์ MeAc สามารถแยกคู่อิแนนทิโอเมอร์ของแลคโทนส่วนใหญ่ได้สมบูรณ์ โดยใช้เวลาน้อยกว่าคอลัมน์ diAc และ diMe |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Lactones are chiral compounds used as flavors and fragrances which each enantiomer possesses different property. Enantiomeric separations as a function of temperature of 13 lactones of different structures were studied by gas chromatography using heptakis(2-O-methyl-3-O-acetyl-6-O-tert-butyldimethylsilyl)-β-cyclodextrin (or MeAc) as a new stationary phase. The results were compared to previously known heptakis(2,3-di-O-acetyl-6-O-tert-butyldimethylsilyl)-β-cyclodextrin (or diAc) and heptakis (2,3-di-O-methyl-6-O-tert-butyldimethylsilyl)-β-cyclodextrin (or diMe) to study the effect of type of cyclodextrin substituent on enantiomeric separation. Most lactones could be enantioseparated by three columns, except α-acetylbutyrolactone (H). Column temperature showed stronger influence towards enantiomeric separation of lactones with small and steric substitution, especially in column diAc. However, most lactones could be completely enantioseparated by column MeAc with shorter analysis time than column diAc or column diMe. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.title |
การแยกอิแนนทิโอเมอร์ของแลคโทนด้วยแก๊สโครมาโทกราฟี |
en_US |
dc.title.alternative |
Enantiomeric separation of lactones by gas chromatography |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Aroonsiri.S@Chula.ac.th |
|