dc.contributor.advisor |
อรวรรณ ชัยลภากุล |
|
dc.contributor.author |
วรกมล ปล้องมาก |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-06-25T06:53:53Z |
|
dc.date.available |
2020-06-25T06:53:53Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66581 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 |
en_US |
dc.description.abstract |
อุปกรณ์ฐานกระดาษควบคู่กับการตรวจวัดเชิงสีได้ถูกพัฒนาขึ้นสำหรับการวิเคราะห์เชิงปริมาณของ สารหนู ลวดลายขี้ผึ้งบนกระดาษได้ถูกออกแบบมาเพื่อสร้างรูปแบบระบบของไหลจุลภาคซึ่งประกอบด้วย 4 ส่วน (1) บริเวณหยดสารตัวอย่าง (2) ส่วนปรับภาวะให้เหมาะสม (3) ส่วนกักเก็บรีเอเจนต์ (4) ส่วนตรวจวัดเชิง สี เมื่อหยดสารละลายตัวอย่างลงบนบริเวณหยดสารตัวอย่าง สารละลายดังกล่าวจะเคลื่อนที่บนอุปกรณ์ผ่าน แรงดึงแคพิลลารี เข้าสู่ส่วนปรับภาวะให้เหมาะสมซึ่งตัวออกซิไดส์ในบริเวณนี้จะปรับภาวะของสารหนูให้เป็น อาร์เซเนต (As(V)) ต่อมาอาร์เซเนตจะทำปฏิกิริยากับกรดแอสคอร์บิกและแอมโมเนียมโมลิบเดตเกิดเป็น สารประกอบเชิงซ้อนสีน้าเงินเข้มในบริเวณส่วนตรวจวัดเชิงสี บันทึกภาพอุปกรณ์ด้วยกล้องดิจิทัลในกล่อง ควบคุมแสงเพื่อให้ภาวะของแสงคงที่ตลอดการทดลอง และวัดความเข้มสีของสารประกอบเชิงซ้อนด้วย โปรแกรม imageJ ได้มีการศึกษาการหาภาวะที่เหมาะสมของปฏิกิริยาเชิงสี ได้แก่ ความเข้มข้นของรีเอเจนต์ และเวลาในการเกิดปฏิกิริยา ผลการทดลองที่ได้พบว่าได้กราฟมาตรฐานที่มีความเป็นเส้นตรง ในช่วงความเข้มข้น 50 ถึง 1000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ 0.991 ขีดจำกัดของการตรวจวัด (S/N=3) เท่ากับ 1.22 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และขีดจำกัดของการตรวจวัดเชิงปริมาณ (S/N=8) เท่ากับ 1.95 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร อุปกรณ์นี้ประสบความสำเร็จในการหาปริมาณสารหนูในตัวอย่างข้าวหอมมะลิและข้าวไรซ์เบอร์รี่ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Paper-based analytical device coupled with colorimetric determination of total arsenic (As) has been developed. Wax pattern was designed to create microfluidic platform on cellulose paper, consisting of 4 parts: (i) sample reservoir, (ii) pretreatment zone, (iii) reagent zone, and (iv) detection zone. After dropping testing solution onto the sample reservoir, solution flowed through hydrophilic area via capillary force. On the pretreatment zone, oxidizing agent was used to change all As species to form As(V) in order to perform total As determination. Then, As(V) reacted with colorimetric agents comprising of ascorbic acid and ammonium molybdate to produce dark blue complex on the detection zone. The device was photographed by digital camera in light control box for controlling light condition. The intensity of color product was measured with imageJ program. Various colorimetric conditions such as reagent concentration and reaction time were investigated. Linear calibration curve was found in the concentration range of 50-1000 μg/mL with a correlation coefficient of 0.991. The limit of detection (LOD, S/N=3) and the limit of quantitation (LOQ, S/N=8) of arsenic were 1.22 and 1.95 μg/mL respectively. Finally, the proposed device was successfully applied to detect As in the rice samples. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
สารหนู |
en_US |
dc.subject |
การวิเคราะห์โดยการวัดสี |
en_US |
dc.subject |
Arsenic |
en_US |
dc.subject |
Colorimetric analysis |
en_US |
dc.title |
การตรวจวัดสารหนูโดยใช้อุปกรณ์ฐานกระดาษควบคู่กับการตรวจวัดเชิงสี |
en_US |
dc.title.alternative |
Detection of arsenic using paper-based device coupled with colorimetric detection |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Orawon.C@Chula.ac.th |
|