dc.contributor.advisor |
Veera Lertchirakarn |
|
dc.contributor.advisor |
Prasit Pavasant |
|
dc.contributor.author |
Phumisak Louwakul |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry |
|
dc.date.accessioned |
2020-06-29T07:51:19Z |
|
dc.date.available |
2020-06-29T07:51:19Z |
|
dc.date.issued |
2005 |
|
dc.identifier.isbn |
9741432755 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66672 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2005 |
en_US |
dc.description.abstract |
The purpose of treatment of pulpal exposure is to preserve vitality, healthy and promote healing of exposed pulp tissue. Fluocinolone acetonide (FA) is a potent topical glucocorticoid used in treatment of skin disorders and oral lesions. It may have a potential to promote tissue healing. The aim of this study was therefore to investigate the effects of FA (0.1 to 10µM) on type 1 collagen synthesis and in vitro calcification in human dental pulp cells. The Western blot analysis was performed to examine the effect of FA on type 1 collagen synthesis at 5 days. The result showed that 1 and 10 µM of FA significantly stimulated the synthesis of collagen for about 2-fold (p>0.05). The result was confirmed by reverse transcription polymerase chain reaction (RT-PCR) which indicated that 1 µM FA could significantly induce the expression of type 1 collagen mRNAs for about 2.8 times (p>0.05). Long term cultures were done to examine the in vitro calcification. After 28 days, the result showed no difference between FA-treated groups and the controls. These results demonstrated that FA enhanced type 1 collagen synthesis but not in calcification process. The results suggested that FA may be the potential substance as a pulp capping material. |
|
dc.description.abstractalternative |
การรักษาการเผยผึ่งของเนื้อเยื่อในโพรงฟันมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะคงสภาพความมีชีวิตและสุขภาพที่ดีของเนื้อเยื่อในโพรงฟันไว้สารเคมีบางชนิดเช่นสารสเตียรอยด์อาจสามารถช่วยการกระตุ้นการหายและการสร้างเนื้อเยื่อแข็งจากเนื้อเยื่อในโพรงฟันได้การวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของ ฟลูโอซิโนโลนอะซีโทไนด์ต่อเซลล์เพาะเลี้ยงจากเนื้อเยื่อในโพรงฟันมนุษย์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์ในความเข้มข้นที่ต่างกัน(0.1-10 ไมโครโมล) ต่อการสร้างคอลลาเจนชนิดที่ 1 และการเกิดตะกอนแคลเซียมในเซลล์เพาะเลี้ยงจากเนื้อเยื่อในโพรงฟันมนุษย์ในห้องปฏิบัติการการศึกษาปริมาณการสร้างคอลลาเจนชนิดที่ 1 วัดด้วยวิธีเวสเทิร์น (Western blot analysis) ที่ระยะเวลา 5 วันพบว่าฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์สามารถกระตุ้นให้เกิดการสร้างคอลลาเจนชนิดที่1 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติประมาณ 2 เท่าโดยได้ทำการยืนยันผลการทดลองด้วยวิธีรีเวิร์ส ทรานสคริบชัน โพลิเมอเรสเชนรีเอคชัน (Reverse transcription polymerase chain reaction; RT-PCR) โดยศึกษาผลของฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์ที่ความเข้มข้น 1 ไมโครโมล พบว่าสามารถกระตุ้นให้เกิดการสร้างเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) ของคอลลาเจนชนิดที่ 1 ได้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติประมาณ 2.8 เท่าส่วนผลการสร้างตะกอนแคลเซียมนั้นเมื่อทำการเพาะเลี้ยงเซลล์ที่ระยะเวลานาน 28 วันพบว่าไม่มีความแตกต่างกันระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมโดยสรุปพบว่าฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์ สามารถส่งเสริมการกสร้างคอลลาเจนชนิดที่ 1 และอาจจะสามารถนำมาพัฒนาเป็นวัสดุปิดโพรงฟันต่อไปในอนาคตได้ |
|
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Dental pulp |
|
dc.subject |
Collagen |
|
dc.subject |
เนื้อเยื่อฟัน |
|
dc.subject |
คอลลาเจน |
|
dc.title |
The effects of fluocinolone acetonide on collagen synthesis and in vitro calcification in human dental pulp cells |
en_US |
dc.title.alternative |
ผลของฟลูโอซิโนโลนอะซีโทไนด์ต่อการสร้างคอลลาเจนและการเกิดตะกอนแคลเซียมในห้องปฏิบัติการในเซลล์โพรงฟันมนุษย์ |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Science |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Endodontology |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
Veera.L@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Prasit.Pav@Chula.ac.th |
|