DSpace Repository

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงระดับเรนินในเลือด ก่อนและหลังปิดดักตัส อาเตอริโอซัส

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรเทพ เลิศทรัพย์เจริญ
dc.contributor.author วรวรรณ ยลสิริธัม
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-06-29T18:44:44Z
dc.date.available 2020-06-29T18:44:44Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.issn 9741419716
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66689
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงระดับเรนินในเลือด และความสัมพันธ์ระหว่างภาวะความต้าน ทานในหลอดเลือดกับระดับเรนินในเลือด ในผู้ป่วยที่มีดักตัส อาเตอริโอซัส หลังจากทำการปิดดักตัส อาเตอริ โอซัส รูปแบบการวิจัย วิจัยเชิงปรมาณเปรียบเทียบไปข่างหน้าสถานที่ศึกษา หอผู้ป่วยโรคหัวใจ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ประชากร ผู้ป่วยอายุ 0-18 ปีซึ่งมารับการรักาปิดดักตัส อาเตอริโอซัสโดยการใส่เครื่องมือปิดท่งสายสวนหัวใจในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ระหว่างเดือน มิถุนายน 2548-มีนาคม 2549 วิธีการศึกษา ผู้ป่วยที่มารับการรักษาเปิดดักตัส อาเตอริโอศัสโดยการใส่เครื่องมือปิดทางสายสวนหัวใจ ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จะได้รับการบันทึกอายุ, เพศ, ความดันโลหิต และการตรวจเพื่อหาค่าความด้านทานในหลอดเลือดด้วยเครื่องคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ ร่วมกับการเจาะเลือดเพื่อตรวจหาระดับเรนินในเลือดในวันก่อนการปิดและหลังภายหลังการปิดดักตัส อาเตอริโดศัสวันที่ 1, 3, 30 ตามลำดับ ผลการศึกษา มีผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การศึกษาทั้งหมด 23 ราย มีขนาดของดักตัส อาเตอริโอซัส โดยเฉลี่ยประมาณ4.38+2.966 มิลลิเมตร พบว่าอัตราส่วนระหว่างปริมาณเลือดไปปอดต่อปริมาณเลือดไปเลี้ยงร่างกาย มีค่าเฉลี่ยประมาร2.32:1 ค่าเฉลี่ยความด้านทานในหลอดเลือดไปเลี้ยงร่างกายหลังการปิดดักดัส อาเตอริโอซัสวันทีที่ 1, 3, 30 ที่วัดโดยวิธี ทูไดเมนชั่นในการตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ มีค่าท่ากับ 26.17+10.869, 22.58+8.085, 26.66+9.28. 27.03+11.17 ตามลำดับ ส่วนค่าเฉลี่ยความด้านทานในหลอดไปเลี้ยงร่างกายภาย หลังการปิดดัส อาเตอริโอซัสวันที่ 1, 3, 30 ที่วัดได้จากการใช้ดรอปเปอร์ คือ 18.47+9.94, 17.24+7.986, 18.89+6.926, 17.56+5.249 ค่าเฉลี่ยของระดับเรนินในเลือดก่อนการปิดและภายหลังการปิดดักดัส อาเตอริโอซัส วันที่ 1, 3, 30 คือ 9.75+9.303, 8.68+5.720, 10.01+5.002, 6.66+5.383 ng/ml/hr ตามลำดับ พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p value>0.05) ของระดับเรนินในเลือดก่อนการปิดและภายหลังการปิดดักตัส อาเตอริโอซัส และเมื่อเปรียบเทียบค่าความต้านในหลอดเลือดไปเลี้ยงร่างกายภายหลังการปิดดักดัส อาเตอริโอซัสในแต่ละวันพบว่าไม่แตกต่างกัน เมื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างระดับเรนินในเลือดกับความดันโลหิตและค่าความต้านทานในหลอดเลือดไปเลี้ยงร่างกายในแต่ละวัน พบว่าไม่มีความสัมพันธ์กัน บทสรุป การเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานในหลอดเลือดไปเลี้ยงร่างกายภายหลังการปิดดักตัส อาเตอริhaโดซัสในแต่ละวันไม่มีความแตกต่างกัน ในส่วนของระดับเรนินในเลือดพบว่าไม่มีความแตกต่างกันในช่วงก่อนและหลังการปิดดักตัส อาเตอริโอซัส และไม่พบความสัมพันธ์กันระหว่างระดับเรนินกับความดันโลหิตและค่าความต้านทานในหลอดเลือด ซึ่งอาจไม่สามารถอธิบายภาวะความดันโลหิตสูงภายหลังการปิดดักตัส อาเตอริโอซัสได้
dc.description.abstractalternative Objectlve : To study the change of plasma rennin activity in pre – closure of patent ductus Arteriosus with device Design : prospective comparative study Setting : In Cardiovascular word, Department of pediatrics, King Chulalongkorn Memorial Hospital, Bangkok. Patients : patients aged 0-18 years who had patent ductus arterisus (PDA)and had transcatheter closure of PDA with device at King Chulalongkorn Memorial Hospital during 01/06/2005-01/03/2006 Methods : Sex, age, blood pressure, mean arterial pressure, echocardiographic study tor estimation of systemic vascular resistance and plasma renin activity was recorded at pre-and days 1, 3, 30 post- PDA closure Results : A total of 23 patients were enrolled. The mean of patent ductus arteriosus size was 4.38+2.966 mm. The pulmonary to systemic blood flow ratio was 2.32 : 1. The means of systemic vascular resistance by 2-dimension echocardiographic study at 0, 1, 30 days after PDA closure were 26.17+10.869, 22.58+8.085, 26.66+9.28, 27.03+11.17; respectively. The means of systemic vascular Resistance by Doppler echocardiographic study at 1, 3, 30 days after PDA closure were 18.47+9.94, 17.24=7.986, 18.89+6.926, 17.56+5.249; respectively. The means of plasma renin activity at pre-and at 1, 3, 30 days after PDA closure were 9.75+9.303, 8.68+5.720, 10.01+5.002, 6.66+5.383 ng/ml/hr, respectively There was no statistically significant in difference between the plasma renin activity at pre-and at 1, 3, 30 days after PDA closure (p value>0.05). The correlation between the mean arterial pretrial pressure, systemic vascular resistance and plasma renin activity were also not statistically significant (p value>0.05) Conclusion : The plasma activity had no significant change at pre-and post-closure of PDA. This finding in plasma renin activity cannot explain post operative hypertension after PDA closure.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject เรนิน
dc.subject หลอดเลือด
dc.subject หัวใจ -- โรค
dc.subject Patent ductus arteriosus
dc.subject Renin
dc.subject Blood-vessels
dc.subject Heart diseases
dc.title การศึกษาการเปลี่ยนแปลงระดับเรนินในเลือด ก่อนและหลังปิดดักตัส อาเตอริโอซัส
dc.title.alternative Plasma renin activity level in pre- and post-closure of patent ductus arteriosus
dc.type Thesis
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline กุมารเวชศาสตร์
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.email.advisor Pornthep.L@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record