dc.contributor.advisor |
ปารีณา ศรีวนิชย์ |
|
dc.contributor.author |
สุวิทย์ พิทักษ์ธีระธรรม |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-07-03T09:01:06Z |
|
dc.date.available |
2020-07-03T09:01:06Z |
|
dc.date.issued |
2548 |
|
dc.identifier.isbn |
9741753241 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66873 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 |
|
dc.description.abstract |
จุดประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาถึงกระบวนการในการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมของการจัดการสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทโบราณสถานรวมทั้งเพื่อให้ทราบถึงข้อบกพร่อง และข้อจำกัดของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ และบทบาทของหน่วยงานที่ทำหน้าที่อนุรักษ์คุ้มครองสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทโบราณสถานจากการศึกษาพบว่า ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ประชาชนไม่สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทโบราณสถานได้นั้น เพราะว่าหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ที่ทำหน้าที่จัดการแต่เพียงฝ่ายเดี่ยว ไม่เปิดโอกาสให้กับประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการด้วยเท่าที่ควร ทั้งนี้มีสาเหตุสำคัญ เนื่องมาจากว่าประชาชนส่วนใหญ่ ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และหลักการที่ถูกต้องอนุรักษ์ รวมทั้งขาดจิตสำนึก และความตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทโบราณสถาน จึงทำให้การอนุรักษ์คุ้มครองที่ผ่านมาไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควรและไม่สอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนไป ที่ต้องการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการกับปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น ดังจะเห็นได้จากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาประเทศจากสภาพดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้เสนอแนะให้ปรับปรุง และแก้ไขบทบัญญัติของกฏหมายเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมประเภทโบราณสถาน ให้มีความเหมาะสมกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป และเพื่อให้สอดคล้องตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 รวมทั้งต้องเร่งปลูกฝังจิตสำนึก ความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจ และหนักการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมประเภทโบราณสถาน ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชน |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study is to analyze the process that allows public participation in Cultural Heritage management case study of Antiquites. And to find out some disadvantages of regulation limit related to Cultural Heritage and the role an organization which is in change for the Antiguites.According to the study, the outstanding factor that hinders participation in managing Cultural Heritage is due to the government policy, as it does not give people opportunity to participate in the process. People lack knowledge and right understanding of Cultural Heritage. Therfore, the plan to conserve Antiquites has not been successful so far.From that overview, L, as a researcher suggest that we should The Constitution of the Kingdom of Thailand, BE.2540(1997) that allow people to play role in developing the Country. An existing provision needs to be amended so that people can participate in managing the Antiquites. Moreover people must be taught and motivated to be responsible for Cultural Heritage. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
โบราณสถาน -- การอนุรักษ์และการบำรุงรักษา -- การมีส่วนร่วมของประชาชน |
|
dc.subject |
สิ่งแวดล้อม (ศิลปกรรม) -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ |
|
dc.subject |
การมีส่วนร่วมทางสังคม -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ |
|
dc.subject |
Antiquities -- Conservation and restoration -- Citizen participation |
|
dc.subject |
Environment (Art) -- Law and legislation |
|
dc.subject |
Social participation -- Law and legislation |
|
dc.title |
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม : ศึกษากรณี โบราณสถาน |
|
dc.title.alternative |
Public participation in cultural heritage management : case study of antiquities |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
นิติศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
นิติศาสตร์ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.email.advisor |
Pareena.S@Chula.ac.th , Pareena.Lawchula@Gmail.com |
|