DSpace Repository

กฎหมายกับมาตรการกำกับดูแลระบบอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย : บทเรียนจากวิกฤตค่าเงินบาท ปี 2540

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศักดา ธนิตกุล
dc.contributor.author นภาพร ด้วงเงิน
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-07-21T06:13:00Z
dc.date.available 2020-07-21T06:13:00Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67163
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 en_US
dc.description.abstract ประเทศไทยได้เปิดเสรีทางการเงินเมื่อปีพ.ศ.2533 โดยรับพันธะข้อ 8 แห่งความตกลงของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ การเปิดเสรีทางการเงินมีผลทำให้มีเงินทุนไหลเข้าประเทศเป็นจำนวนมาก และเป็นการส่งเสริมให้มีการแข่งขันด้านการเงินได้อย่างเสรี ประเทศไทยใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบตะกร้าเงิน ซึ่งเป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2527 จนกระทั่งภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลง แต่ระบบอัตราแลกเปลี่ยนยังคงเป็นระบบเดิม จากผลการศึกษาพบว่า ระบบอัตราแลกเปลี่ยนต้องมีความสอดคล้อง และเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศในแต่ละช่วงเวลา มิฉะนั้นจะมีผลต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ของประเทศ พระราชบัญญัติเงินตรา เป็นกฎหมายที่บัญญัติให้หน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบเลือกระบบอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศ พระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน เป็นกฎหมายที่บัญญัติที่กำกับควบคุมดูแลเงินทุนเคลื่อนย้าย (Capital movement) โดยหน่วยงานที่ทำหน้าที่ใช้กฎหมายทั้งสองฉบับก็คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย โดยมีพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทยที่บัญญัติอำนาจและหน้าที่ในการปฏิบัติงานไว้ พระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวมีการแก้ไขในปี พ.ศ.2551 โดยใช้บทเรียนจากวิกฤตเศรษฐกิจปี พ.ศ.2540 เป็นบทเรียนสำคัญ เพื่อให้ธนาคารแห่งประเทศไทยมีการดำเนินงานในการใช้กฎหมายทั้ง 2 ฉบับ อย่างมีประสิทธิภาพ และป้องกันการเกิดวิกฤตของประเทศในอนาคต en_US
dc.description.abstractalternative Thailand has been liberalization financial sector since 1990 on obligate Article 8 of IMF agreement. Liberalization financial affected to many wave Capital in – out and support to competitive free of financial sector. Thailand used basket exchange rate regime (fix exchange rate regime) since 1984 until open economic but still used fix exchange rate regime The research conducted demonstrates the exchange rate system must conform to fundamental economic of country for time to time otherwise this system effect to economic stability of country. Currency Act. designed to authority choose exchange rate system, Control exchange currencies designed to control capital movement. Both the laws, Bank of Thailand is agency organ exercise power by Bank of Thailand Act.2008. The law legislated from importance lessons of currencies crisis in 1997 for BOT efficiently manage with the laws and prevent crisis in the future. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ปริวรรตเงินตรา en_US
dc.subject เงินตรา -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย en_US
dc.subject อัตราแลกเปลี่ยน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย en_US
dc.subject วิกฤตการณ์การเงิน -- ไทย en_US
dc.subject Foreign exchange en_US
dc.subject Money -- Law and legislation -- Thailand en_US
dc.subject Foreign exchange rates en_US
dc.subject Financial crises -- Thailand en_US
dc.title กฎหมายกับมาตรการกำกับดูแลระบบอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย : บทเรียนจากวิกฤตค่าเงินบาท ปี 2540 en_US
dc.title.alternative Law and regulations on exchange rate regime in thailand : lessons from 1997 currencies crisis en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Sakda.T@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record