DSpace Repository

บทวิเคราะห์แนวความคิดทางการเมืองเบื้องหลังพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508

Show simple item record

dc.contributor.advisor เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา
dc.contributor.author ชลิต ถาวรนุกิจกุล, 2521-
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.date.accessioned 2006-07-08T03:29:42Z
dc.date.available 2006-07-08T03:29:42Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.isbn 9741768745
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/671
dc.description วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาแนวความคิดทางการเมืองที่อยู่เบื้องหลังพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 ที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากพระราชบัญญัติสัญชาติในอดีต ว่ามีวิธีคิดและวิธีการให้ความหมายความเป็นพลเมืองอย่างไร โดยเฉพาะเมื่อต้องเผชิญกับบริบททางสังคมและการเมืองที่เปลี่ยนแปลง รวมถึงต้องการศึกษาปัญหาในทางปฏิบัติของพระราชบัญญัติสัญชาติ เพื่อพิจารณาว่าพระราชบัญญัติสัญชาติมีผลกระทบต่อผู้อยู่ใต้ปกครองของรัฐอย่างไร โดยวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลจากเอกสารหลักฐานต่างๆ ตลอดจนการสัมภาษณ์พูดคุยกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่าสัญชาติไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพียงการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับปัจเจกบุคคลตามรูปแบบของการเป็นรัฐสมัยใหม่เท่านั้น แต่ยังทำให้เห็นถึงอำนาจการปกครองที่มาพร้อมกับพระราชบัญญัติสัญชาติ ซึ่งถูกนำมาใช้เพื่อสร้างความชอบธรรมให้แก่การควบคุมคนในสังกัดด้วยการกำหนดความเป็นพลเมืองอีกด้วย นอกจากนี้แล้ว กรณีศึกษาที่แสดงให้เห็นปัญหาในทางปฏิบัติยังชี้ให้เห็นว่าจินตนาการของความเป็นชาติในความคิดของพลเมืองที่เกิดจากการมีสัญชาติของรัฐเจ้าของดินแดน จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อรัฐสามารถใช้อำนาจปกครองเหนือพื้นที่และตัวบุคคลได้อย่างเป็นเอกภาพ en
dc.description.abstractalternative This thesis aims to study the political concepts behind the 1965 Nationality Act, which affected from the past Nationality Acts, whether how citizenship is defined. The study is stressed when there are changes in social and political context. Moreover, it aims to study problems caused by Nationality Act implementation to the ruled people. This thesis studies from textbooks, relative documents and interviews from key informants. The results from this research are : nationality not only indicates relationships between state and individuals, but also legitimises the state authority to dominate its people by defining citizenship too. In addition, the case study shows that the imagination of citizens nationality would happen when the state uses administrative power to unite its territory and subjects. en
dc.format.extent 4085899 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 en
dc.subject สัญชาติ en
dc.subject พลเมืองไทย en
dc.title บทวิเคราะห์แนวความคิดทางการเมืองเบื้องหลังพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 en
dc.title.alternative An analysis of political concepts behind the 1965 Nationality Act en
dc.type Thesis en
dc.degree.name รัฐศาสตรมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline การปกครอง en
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Ake.T@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record