DSpace Repository

เพื่อนในจินตนาการในเด็กไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศิรางค์ ทับสายทอง
dc.contributor.author ธัญลักษณ์ เพชร์หมู่
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2020-07-22T09:38:51Z
dc.date.available 2020-07-22T09:38:51Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741422059
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67218
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en_US
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาเพื่อนในจินตนาการในเด็กไทย กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นเด็กจำนวน 31 คน อายุ 3.5 – 7 ปี ประกอบด้วยเด็กชายจำนวน 5 คน และเด็กหญิงจำนวน 26 คน ได้มาจากการสัมภาษณ์ตัวเด็กและพ่อแม่ร่วมกับการตรวจสอบรายงานพฤติกรรม (behavior checklist) จากการสังเกตของพ่อแม่ แล้วจัดแบ่งเด็กออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มเด็กที่มีเพื่อนในจินตนาการแบบสิ่งของที่ถูกสมมติให้เห็นบุคคล และกลุ่มเด็กที่มีเพื่อนในจินตนาการแบบเพื่อนไม่มีตัวตน สุดท้ายเด็กทั้งหมดได้รับการร้องขอ ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับเพื่อนในจินตนาการของพวกเขา การค้นพบเป็นดังนี้ 1)เด็กไทยที่ได้รับการจัดอยู่ในกลุ่มที่มีเพื่อนในจินตนาการแบบสิ่งของที่ถูกสมมติให้เป็นบุคคลจำนวนมากกว่าที่อยู่ในกลุ่มที่มีเพื่อนในจินตนาการแบบเพื่อนไม่มีตัวตน 2)สถานะสมรสของพ่อแม่ของเด็กทั้งสองกลุ่มคล้ายคลึงกัน กล่าวคือพ่อแม่ส่วนใหญ่ยังอยู่ด้วยกัน จำนวนน้อยที่แยกกันอยู่หรือหย่าร้างกัน 3)เด็กส่วนใหญ่ในกลุ่มที่มีเพื่อนในจินตนาการแบบเพื่อนไม่มีตัวตนมีอายุ 3.5 – 4 ปี และ 6 – 7 ปี ในขณะที่เด็กส่วนใหญ่ในกลุ่มที่มีเพื่อนในจินตนาการแบบสิ่งของที่ถูกสมมติให้เป็นบุคคล มีอายุ 4 – 6 ปี นอกจากนั้นเด็กส่วนใหญ่เป็นลูกคนเดียว 4)เด็กทั้งสองกลุ่มมีทักษะทางสังคมที่ดี รวมทั้งมีบุคลิกภาพกล้าแสดงออก 5)รูปแบบของเพื่อนในจินตนาการของเด็กในกลุ่มที่มีเพื่อนในจินตนาการแบบเพื่อนไม่มีตัวตนเป็นสัตว์โลกที่มีพลังอำนาจ เช่น อุลตร้าแมน มนุษย์หรือสัตว์ที่มองไม่เห็นตัวตน ในขณะที่ตุ๊กตา ของเล่น หมอน และผ้าห่ม เป็นเพื่อนในจินตนาการของเด็กในกลุ่มที่มีเพื่อนในจินตนาการแบบสิ่งของที่ถูกสมมติให้เป็นบุคคล รวมทั้งเด็กทั้งสองกลุ่มตั้งชื่อเฉพาะให้เพื่อน ๆ สอดคล้องตามจินตนาการของพวกเขา en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study an imaginary companion in Thai children. Samples of 31 children, aged 3.5 to 7, comprising of 5 males and 26 females were derived by interviewing both the children and their parents as well as examining behavior checklists from parental observation. Then, the children were divided into two groups: the personified object and the invisible friend. Finally, both groups of children were asked to give information in details concerning their imaginary companion. Findings are as follows: 1)More Thai children are categorized in the personified object than in the invisible friend. 2)The marital status of parents of both groups is similar. Most parents still live together, only few separate or divorce. 3)Most children in the invisible friend group are 3.5 - to 4 - years old and 6 - to 7- years old, while most children in the personified object one are 4 – to 6 – years old. Moreover, most of them are the only child. 4)Children in both groups have good social skills and assertive personality. 5)The pattern of imaginary companion of children in the invisible friend are magical creatures such as the ultra man, the invisible humans or animals, while dolls, toys, pillows, and blankets are imaginary companions of children in the personified object group. In addition, both groups of children give specific names for their friends in accordance with their imagination. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject เพื่อนในจินตนาการ en_US
dc.subject จิตวิทยาเด็ก en_US
dc.subject เด็ก -- ไทย en_US
dc.title เพื่อนในจินตนาการในเด็กไทย en_US
dc.title.alternative Imaginary companion in Thai children en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยาพัฒนาการ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record