dc.contributor.advisor |
ฉันทนา บรรพศิริโชติ หวันแก้ว |
|
dc.contributor.author |
รัชนีกร ทองทิพย์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-08-03T06:42:43Z |
|
dc.date.available |
2020-08-03T06:42:43Z |
|
dc.date.issued |
2548 |
|
dc.identifier.isbn |
9741432895 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67331 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 |
en_US |
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตเพื่อสร้างพันธมิตรของขบวนการ เคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหม่ มีขอบเขตการศึกษาเฉพาะเว็บไซต์ไทยเอ็นจีโอ (www.thaingo.org) โดยมีสมมติฐานว่าองค์กรพัฒนาเอกชนใช้สื่ออินเตอร์เน็ตในการสร้างวาทกรรมเพื่อระดมมวลชนเข้าเป็น พันธมิตร การนำเสนอข่าวสารขององค์กรพัฒนาเอกชนทำให้ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตเกิดความตื่นตัวในปัญหา สาธารณะ และ องค์กรพัฒนาเอกชนประสบความสำเร็จในการระดมมวลชนเป็นพันธมิตรในการเสนอ ประเด็นที่เกี่ยวกับศีลธรรมแต่สำหรับประเด็นการพัฒนาประชาธิปไตยนั้นองค์กรพัฒนาเอกชนไม่ประสบ ความสำเร็จเนื่องจากผู้ใช้อินเตอร์เน็ตขาดความไว้วางใจต่อองค์กรพัฒนาเอกชน การศึกษาได้ใช้การสำรวจและรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์เนื้อหาจากเว็บไซต์ไทยเอ็นจีโอ และการ สัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องแบบเจาะลึก ผลการศึกษาพบว่า องค์กรพัฒนาเอกชนมีความพยายามในการ สร้างวาทกรรม โดยมีการนำเสนอข้อมูลข่าวสารในประเด็นต่างๆ เพื่อให้เกิดการถกเถียง แต่วาทกรรมที่องค์กรพัฒนาเอกชนสร้างยังไม่สามารถพัฒนาเป็นวาทกรรมที่มีพลังได้ อาจเนื่องจากหลายปัจจัยที่มี ความซับซ้อน เช่น ปัญหาเรื่องความรู้ความเข้าใจตลอดจนความเข้าใจของผู้ปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และ ความสนใจของผู้ใช้อินเตอร์เน็ต อย่างไรก็ตาม พบว่า เว็บไซต์ไทยเอ็นจีโอมีบทบาทในการเป็นผู้ให้ข้อมูลข่าวสารในเชิงลึกที่ไม่สามารถค้นหาได้จากสื่อกระแสหลักทั่วไป นอกจากนั้นยังพบว่าผู้ใช้อินเตอร์เน็ตมีความตื่นตัวในการเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นทางสังคมมากขึ้น และ เว็บไซต์ไทยเอ็นจีโอประสบความสำเร็จในการดึงคนเข้ามามีส่วนร่วมในอินเตอร์เน็ตได้เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการเป็นที่ยอมรับ ขององค์กรพัฒนาเอกชนอื่นๆ และ ผู้ที่สนใจในงานการพัฒนา |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The objective of this thesis is to study the internet usage of new social movements to create alliance of democratic movements. This thesis focuses solely on the Thai NGO website (www.thaingo.org). The assumptions of the study are as following: the Thaingo uses the internet to construct discourses in order to mobilize movement alliances. The information provided by the Thaingo increases internet users’ awareness of public issues and succeeds in mobilizing people to be alliance with democratic movements on specific issues of ethics or morality. However, they did not succeed in raising democratic issues, because the NGOs image on this aspect is still perceived as unreliable. The thesis analyze contents of the website and conduct in-dept interviews of key informants concerning the operation of the website and relate NGOs. The findings of the study show that the NGOs attempt to construct discourses by presenting different topic issues to be argued but the discourses can not be situated as the dominant discourses due to several complicated factors, namely, the lack of knowledge and enthusiasms of NGO workers, the management problem and users’ attention. However, the website provides more in-dept information than the mainstreaming media. Moreover, the users pay more attention to expressing their opinions on social problems issues than before. Finally, the website succeeds in persuading people to access to it; besides, it gains the acceptance from the other NGOs and people who are interested in development issues. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ขบวนการสังคม |
en_US |
dc.subject |
องค์กรพัฒนาเอกชน |
en_US |
dc.subject |
การมีส่วนร่วมทางสังคม |
en_US |
dc.subject |
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต -- ไทย |
en_US |
dc.title |
การใช้สื่ออินเตอร์เน็ตเพื่อสร้างพันธมิตรของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหม่ |
en_US |
dc.title.alternative |
Use of internet for alliance building in new social movements |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
การปกครอง |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Chantana.B@Chula.ac.th |
|