DSpace Repository

การศึกษาเปรียบเทียบคำว่า "hui" " neng" " keyi" ในภาษาจีนกลางกับคำว่า "ได้" ในภาษาไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor จินตนา ธันวานิวัฒน์
dc.contributor.advisor ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
dc.contributor.author ยุวดี องค์เทียมสัคค์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-08-04T00:15:19Z
dc.date.available 2020-08-04T00:15:19Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.isbn 9741704208
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67344
dc.description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 en_US
dc.description.abstract ยุวดี องค์เทียนสัคค์ : การศึกษาเปรียบเทียบคำว่า ‘hui’ ‘neng’ ‘keyi’ ในภาษาจีนกลางกับคำว่า‘ได้’ในภาษาไทย การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความหมายและลักษณะทางไวยากรณ์ของ คำกริยาช่วย ‘hui’ ‘neng’ และ ‘keyi’ และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความหมายและลักษณะทางไวยากรณ์ของคำกริยาช่วย ‘hui’ ‘neng’ และ ‘keyi’ ในภาษาจีนกลาง กับคำ ‘ได้’ ในภาษาไทย ผลการวิจัยพบว่า คำกริยาช่วย ‘hui’ ‘neng’ และ ‘keyi’ ที่แสดงความหมายเหมือนกัน บางบริบทสามารถใช้แทนที่กันได้ บางบริบทไม่สามารถใช้แทนที่กันได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรายละเอียดด้านความหมายและลักษณะทางไวยากรณ์ที่แตกต่างกันของคำกริยาช่วยแต่ละคำ คำกริยาช่วย ‘hui’ ‘neng’ และ ‘keyi’ สามารถถอดความเป็นภาษาไทยที่ตรงกันกับคำ ‘ได้’ ในภาษาไทย แต่ความหมายที่สอดคล้องกันมีสองความหมายคือคำกริยาช่วย ‘hui’ ‘neng’ ‘keyi’ และ ‘ได้’ ที่แสดงถึงความสามารถ และคำกริยาช่วย ‘neng’ ‘keyi’ และ ‘ได้’ ที่แสดงการอนุญาต ถึงแม้ ‘hui’ ‘neng’ และ ‘keyi’ จะทำหน้าที่เป็นคำกริยาช่วยในประโยคเหมือนกัน แต่มีลักษณะทางไวยากรณ์บางอย่างที่แตกต่างกัน โดยส่วนใหญ่แล้ว คำกริยาช่วยทั้ง ‘hui’ ‘neng’ และ ‘keyi’ และ ‘ได้’ ทำหน้าที่ขยายความหมายของคำกริยาในประโยค en_US
dc.description.abstractalternative This is a study to compare the semantics and the grammar of the auxiliary verbs ‘hui’ ‘neng’ and ‘keyi’ in Mandarin Chinese and to compare these findings with the auxiliary verb ‘dai’/daj/ in Thai. It is found that the auxiliary verbs ‘hui’, ‘neng’ and ‘keyi’ sometimes have the same meanings and these common meanings can sometimes be used interchangeably. The uses for these verbs talk into consideration their definitions and grammatical differences. ‘Hui’, ‘neng’ and ‘keyi’ can be translated to ‘dai’/daj/ in Thai and they have two common meanings. ‘Hui’,‘neng’, ‘keyi’ and ‘dai’/daj/ can be translated to mean “ability”, conversely ‘neng’, ‘keyi’ and ‘dai’/daj/ can also be translated to mean “allowing”. Although ‘hui’, ‘neng’ and ‘keyi’ are auxiliary verbs, they are generally used to modify other verbs but in grammatical uses there are some differences. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ภาษาจีน -- คำกริยา en_US
dc.subject ภาษาไทย -- คำกริยา en_US
dc.subject Chinese language -- Verb
dc.subject Thai language -- Verb
dc.title การศึกษาเปรียบเทียบคำว่า "hui" " neng" " keyi" ในภาษาจีนกลางกับคำว่า "ได้" ในภาษาไทย en_US
dc.title.alternative A comparative study of 'hui', 'neng', 'keyi' in Mandarin and 'dai' in Thai en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name อักษรศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline ภาษาจีน en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Jintana.T@Chula.ac.th
dc.email.advisor Prapin.M@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record