DSpace Repository

การใช้ที่ว่างเพื่อสื่อสารบุคลิกภาพของงานออกแบบเรขศิลป์ 2 มิติ จากประวัติศาสตร์เรขศิลป์

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศุภกรณ์ ดิษฐพันธ์
dc.contributor.advisor พรสนอง วงย์สิงห์ทอง
dc.contributor.author ญาดา ชวาลกุล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-08-04T03:10:37Z
dc.date.available 2020-08-04T03:10:37Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.issn 9741300921
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67353
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract การดำเนินวิจัย ประกอบด้วยการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างผลงานเรขศิลป์ในประวัติศาสตร์ และการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ที่ว่าง เพื่อนำไปเป็นหลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ผลงานเรขศิลป์ กำหนดการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) หลังจากนั้นนำผลงานที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างมาคัดเลือก โดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทาง ด้านการออกแบบเรขศิลป์ 9 ท่าน จากหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน เป็นผู้คัดเลือกผลงาน สรุปได้ผลงานจำนวนทั้งสิ้น 131 ชิ้น จากการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ที่ว่าง สามารถสรุปวิธีการสำหรับใช้ในการวิเคราะห์ผลงานเรขศิลป์ได้ 4หัวข้อ ได้แก่ 1. ภาพ และ พื้นภาพ(Figure and Ground) 2.รูปทรง และ กรอบภาพ (Element and Frame of Reference) 3.รูปแบบของที่ว่าง (Type of Space) และ 4. โครงสร้างการจัดองค์ประกอบ (Structure) ผลการวิจัย ได้แนวการใช้ที่ว่างเพื่อสื่อสารบุคลิกภาพทั้งหมด 24 บุคลิก ได้แก่ 1. ทางการ 2. เข้มงวด 3. ประณีต 4. วัฒนธรรม 5. ร่ำรวย 6. ซับซ้อน 7. สง่า หรูหรา 8. สง่างาม อ่อนช้อย 9. ผู้หญิง 10. มีชีวิตชีวา 11. โชติช่วงโลดโผน 12. สะอาด 13. พลวัต 14. เคลื่อนไหว 15. มีพลัง 16. รุนแรง 17. อิสระ 18. รวดเร็ว 19. ปั่นปวนสับสน 20. ใหญ่โดดเด่น 21. เรียบง่าย 22. แข็งแรง 23. กลมกลืน และ 24. เน้นประโยชน์ใช้สอย en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research is to find the use of space to reflect the characteristics of two-dimensional graphic design with reference from the history of graphic design. Graphic styles in history used เท this research included Arts & Crafts, Art Nouveau, Futurism, Dadaism, Art Deco, Constructivism, De stijl, and Bauhaus. The methodology involved selecting works documenting and analyzing the use of space to reflect the characteristics of two-dimensional graphic design. The graphic design samples were selected by using stratified random sampling and expert choice techniques. The panel of nine experts was purposively selected from government and private organizations. In conclusion, 131 graphic design works were selected. The methodology used to analyze the data were figure and ground, element and frame of reference, type of space, and structure. The result of this research was the used of space for 24 characteristics, included formal, austere, meticulous, cultured, wealthy, complex, elegant, grace, feminine, lively, vivid, clean, dynamic, motion, energy, violent, free, speed, ferment, bold, simplicity, strong, harmony, and functional. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การออกแบบกราฟิก en_US
dc.subject ที่ว่าง (ศิลปกรรม) en_US
dc.subject องค์ประกอบศิลป์ en_US
dc.subject Graphic design en_US
dc.subject Space (Art) en_US
dc.subject Composition (Art) en_US
dc.title การใช้ที่ว่างเพื่อสื่อสารบุคลิกภาพของงานออกแบบเรขศิลป์ 2 มิติ จากประวัติศาสตร์เรขศิลป์ en_US
dc.title.alternative Brand identity transformable fashion for working ages in Bangkok Metropolis en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นฤมิตศิลป์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Suppakorn.D@Chula.ac.th,suppakornd@yahoo.com
dc.email.advisor Pornsanong.V@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Fine Arts - Theses [876]
    วิทยานิพนธ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์

Show simple item record