dc.contributor.author |
สุปราณี จิราณรงค์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) |
|
dc.date.accessioned |
2008-04-29T08:40:03Z |
|
dc.date.available |
2008-04-29T08:40:03Z |
|
dc.date.issued |
2547 |
|
dc.identifier.isbn |
9741328796 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6736 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดของนักเรียนในด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ และการคิดประยุกต์ใช้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในวิชากลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต โดยการสอบตามแนวคิดของสเติร์นเบอร์ก มีกลุ่มตัวอย่างจากนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) จำนวน 34 คน ซึ่งจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนตามแนวคิดของสเติร์นเบอร์กที่เน้นการพัฒนาทักษะการคิดที่สำคัญ 3 ทักษะ คือ ทักษะการคิดวิเคราะห์ ได้แก่ การวิเคราะห์ การเปรียบเทียบ การประเมินและการอธิบาย ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ได้แก่ การสร้าง การออกแบบ การจินตนาการ และการสมมติทักษะการคิดประยุกต์ใช้ ได้แก่ การใช้ความรู้ การประยุกต์ความรู้ และการนำความรู้ไปปฏิบัติจริงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบความสามารถในการคิด แผนการสอนวิชากลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้คือ 1. นักเรียนที่ได้รับการสอนตามแนวคิดของสเติร์นเบอร์ก มีค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการคิดสูงกว่าก่อนได้รับการสอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2. นักเรียนที่ได้รับการสอนตามแนวคิดของสเติร์นเบอร์ก มีค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการคิดสูงกว่าก่อนได้รับการสอนทุกด้าน คือด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์และการคิดประยุกต์ใช้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 |
en |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was to develop thinking ability with three aspects: analytical, creative and practical thinking of Prathom Suksa one students in Life Experiences Area, taught through Sternberg approach. The subjects were 34 Prathom Suksa one students in Chulalongkorn University Demonstration School (Elementary). By using Sternberg Approach in teaching that was to develop thinking ability with three aspects. Analytical thinking such as analysis, comparison, evaluation and explanation. Creative thinking such as creation, design, imagination and supposing. Practical thinking such as use of knowledge, application and implement. The research instrument was thinking ability tests and lesson plans in Life Experiences Area. The data of this study were analyzed by t-test. The results were as follows. 1. The students who were taught by using Sternberg approach had higher mean scores on thinking ability test than their mean scores on pre-test at the significant level of 0.01. 2. The students who were taughtby using Sternberg approach had higher mean scores on all three aspects: analytical, creative and practical on thinking ability tests than their mean scores on pre-test at the significant level of 0.01 |
en |
dc.format.extent |
23662730 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) |
en |
dc.subject |
นักเรียนประถมศึกษา |
en |
dc.subject |
ความคิดและการคิด |
|
dc.title |
การพัฒนาความสามารถในการคิดของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในวิชากลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตโดยการสอนตามแนวคิดของสเติร์นเบอร์ก |
en |
dc.title.alternative |
Development of thinking ability of prathom suksa one students in life experiences area by using Sternberg approach in teaching |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|