dc.contributor.author |
เสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์ |
|
dc.contributor.author |
อมร เพชรสม |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2008-04-30T09:57:13Z |
|
dc.date.available |
2008-04-30T09:57:13Z |
|
dc.date.issued |
2537 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6749 |
|
dc.description.abstract |
ขวดเพทที่ใช้แล้ว สามารถนำกลับมารีไซเคิล ด้วยการย่อยสลายทางเคมีโดยการไกลโคไลซ์ในไกลคอลปริมาณมากเกินพอ เช่น เอทิลีนไกลคอล, โพรพิลีนไกลคอล และไดเอทิลีนไกลคอล โดยมีซิงก์อะซีเตตเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ที่อุณหภูมิ 190 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 8 ชั่วโมง ภายใต้บรรยากาศของก๊าซไนโตรเจน ผลที่ได้จากปฏิกิริยา ส่วนใหญ่จะเป็นบิสไฮดรอกซีเอทิล เทเรฟธาเลท (BHET) ซึ่งเป็นโมโนเมอร์ของเพท และเมื่อนำผลที่ได้นี้ ไปทำปฏิกิริยากับมาเลอิกแอนไฮไดรด์ และผสมกับสไตรีนโมโนเมอร์จะได้พอลิเอสเตอร์เรซินชนิดไม่อิ่มตัว ซึ่งสามารถทำให้แข็งตัว โดยการใช้เมทิลเอทิลคีโตนเปอร์ออกไซด์ (MEKPO) เป็นตัวเริ่มต้นปฏิกิริยา และโคบอลต์ออกโตเอตเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เมื่อเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพและสมบัติเชิงกล ระหว่างพอลิเอสเตอร์เรซินที่สังเคราะห์ได้จากขวดเพทที่ใช้แล้ว กับพอลิเอสเตอร์เรซินที่ใช้งานกันอยู่ทั่วไ ป พบว่าสมบัติด้านความแข็ง ความทนการดัดโค้ง และจุดอ่อนตัวของเรซินที่สังเคราะห์ได้จะสูงกว่าเรซินที่ใช้กันอยู่ทั่วไป เรซินที่ได้จากขวดเพทที่ใช้แล้ว จึงสามารถนำไปขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ด้วยกรรมวิธีการหล่อ เช่นเดียวกับพอลิเอสเตอร์เรซินทั่วไป นอกจากนี้ ยังใช้ทำผลิตภัณฑ์ไฟเบอร์กลาส และหินอ่อนเทียม ได้อีกด้วย |
en |
dc.description.abstractalternative |
waste bottles can be recycled by depolynerizayion in excess glycols, such as ethylene glycol, propylene glycol and diethylene glycol in the presence of a zinc acetate catalyst. The reaction was carried out at 190 celsius degree under reflux for 8 hours in a nitrogen atmosphere. The glycolyzed products contained predominantly of bis(hydroxyethyl) terephthalate (BHET) which is PET monomer. These glycolyzed products were reacted with maleic anhydride and mixed with styrene monomer to get unsaturated polyester resins. The resin can be cured by using methyl ethy ketone peroxide (MEKPO) as the initiator and cobalt octoate as an accelerator. The physical and mechanical properties of the PET waste based resins were found to be comparable with the general purpose resin. Hardness, bending strength and softening point of the resins aer higher than that of the general purpose resin. The resin waste based offers a new class of unsaturated polyester that can make casting products, fiber-reinforced plastics and cultured marble. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช |
en |
dc.format.extent |
5219477 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.RES.1994.1 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
พลาสติก--การนำกลับมาใช้ใหม่ |
en |
dc.subject |
เรซินสังเคราะห์ |
en |
dc.subject |
โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต |
en |
dc.subject |
โพลิเอสเตอร์--การสังเคราะห์ |
en |
dc.subject |
หินอ่อนเทียม |
en |
dc.title |
การสังเคราะห์พอลิเอสเตอร์เรซินชนิดไม่อิ่มตัวจากขวดเพทที่ใช้แล้ว : รายงานผลการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Synthesis of unsaturated polyester resin from PET waste bottles |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.RES.1994.1 |
|