DSpace Repository

การเมืองของการให้ความหมายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ในแบบเรียนที่กระทรวงศึกษาธิการให้การยอมรับ

Show simple item record

dc.contributor.advisor เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา
dc.contributor.author ภัทรา อังคณาวิศัลย์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.coverage.spatial ไทย
dc.coverage.spatial Thailand
dc.date.accessioned 2020-08-14T09:37:50Z
dc.date.available 2020-08-14T09:37:50Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.issn 9741735111
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67509
dc.description วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่จะวิเคราะห์เนื้อหาของ แบบเรียนไทยที่กระทรวงศึกษาธิการให้การยอมรับ ระหว่าง พ.ศ. 2475 ถึง พ.ศ. 2516 ที่สะท้อนให้ เห็นการให้ความหมายทางการเมืองแก่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และระบอบ ประชาธิปไตย โดยใช้ทฤษฎีการตีความความหมาย (Hermeneutics) เป็นเครื่องมือในการวิจัย สมมติฐานการวิจัยมีว่า เนื้อหาของแบบเรียนไทยในช่วงระหว่างพ.ศ. 2475 ถึง พ.ศ. 2516 ให้ ความหมายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 และระบอบประชาธิปไตยในทางที่ เป็นเครื่องมือเพื่อสร้างความชอบธรรมให้แก่กลุ่มชนชั้นนำผู้มีอำนาจในการปกครองแต่ละช่วงและ จึงเปลี่ยนแปลง และผันแปรไปตามบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม การวิจัย พบว่า เนื้อหาของแบบเรียนที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และระบอบประชาธิปไตย มีลักษณะสอดคล้องกับแนวความคิดของผู้นำทางการเมืองที่ เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วง เพราะรัฐบาลทุกสมัยมีนโยบายที่ให้ความสำคัญกับการปรับปรุง เนื้อหาของแบบเรียน และหลักสูตรการเรียนการสอน จึงไม่มีแบบเรียนเล่มใดที่ไม่สนับสนุนกลุ่มผู้ ที่มีอำนาจทางการปกครองอยู่ในขณะนั้น เพราะผู้มีอำนาจในการปกครองต่างก็ปรารถนาที่จะใช้ แบบเรียนเป็นเครื่องมือในการกล่อมเกลาความคิดทางการเมืองของประชาชนให้มีลักษณะเป็น "พลเมืองดี" ในแบบที่สอดคล้องกับระบอบการปกครอง เพื่อสร้างความชอบธรรมให้แก่ผู้มีอำนาจ ทางการปกครองนั้น ๆ
dc.description.abstractalternative This thesis uses hermeneutics theory and qualitative research methods 10 analyze the contents of Ministry of Education - approved textbooks in terms of political meaning construction on the 1932 event. The textbooks analyzed were published between 1932 and 1973. The hypothesis is that the contents changed according to the political, economic and social contexts and gave meaning to the 932 event and "the democratic system" in such a way as to give legitimacy to the political elites of the consecutive regimes. The study found that the contents of the textbooks on the 1932 event and “the Democratic system” were harmonious with the political ideas of the government of power holders in each period. This is because all of the governments had policies of revising the textbooks and the curricula. Therefore, it was found that there were no text cooks which did not support the group that held power at that time. This is because governmental power holders always wanted to use textbooks as a political socializing instrument to produce "good citizens" in ways congruent with the political regime favored by the governmental power holders so as to legitimize their power.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject กระทรวงศึกษาธิการ en_US
dc.subject การศึกษา -- ไทย -- ประวัติ en_US
dc.subject การเมืองกับการศึกษา en_US
dc.subject แบบเรียน -- ไทย en_US
dc.subject Ministry of Education en_US
dc.subject Education -- Thailand -- History en_US
dc.subject Politics and education en_US
dc.subject Textbooks -- Thailand en_US
dc.title การเมืองของการให้ความหมายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ในแบบเรียนที่กระทรวงศึกษาธิการให้การยอมรับ en_US
dc.title.alternative Politics of meaning construction on the 1932 event in textbooks approved by the Ministry of Education en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name รัฐศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การปกครอง en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Ake.T@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record