DSpace Repository

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเกิดเลือดออกซ้ำในผู้ป่วยโรคตับแข็งภายในเวลา 6 เดือน ภายหลังการรักษาหลอดเลือดขอดที่หลอดอาหารโดยวิธีรัดหลอดเลือดครั้งแรก

Show simple item record

dc.contributor.advisor นุสนธิ์ กลัดเจริญ
dc.contributor.author บุบผา พรธิสาร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-08-18T09:27:03Z
dc.date.available 2020-08-18T09:27:03Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.issn 9740300065
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67579
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเกิดเลือดออกซํ้าในผู้ป่วยโรคตับแข็งภายในเวลา 6 เดือน ภายหลังการรักษาหลอดเลือดขอดที่หลอดอาหารโดยวิธีรัดหลอดเลือดครั้งแรก วิธีการศึกษา ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาหลอดเลือดขอดที่หลอดอาหารด้วยวิธีรัดหลอดเลือด ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ตั้งแต่มกราคม พ.ศ. 2536ถึง มิถุนายนพ.ศ. 2543จำนวน 115 ราย ผู้ป่วยได้รับการรักษาโดยวิธีการรัดหลอดเลือดทุก 2 ถึง 3 สัปดาห์ จนหลอดเลือดยุบ หลังจากนั้นติดตามการรักษาทุก 1 ถึง 3 เดือน มีการบันทึกข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วย ผลที่ตรวจพบจากการส่องกล้องและจำนวนของห่วงยางที่ใซในการรัดหลอดเลือดในแต่ละครั้ง ผลแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นติดตามผู้ป่วยทุกรายเป็นเวลา6 เดือนภายหลังการรัดหลอดเลือดครั้งแรก ผลการศึกษา ผู้ป่วยโรคตับแข็งที่ได้รับการรัดหลอดเลือดขอดที่หลอดอาหารจำนวนทั้งหมด 115 ราย อายุเฉลี่ย 50.9 ± 12.1 ปี ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่มีโรคพื้นฐาน (60%) ผู้ป่วยที่ตรวจพบมะเร็งตับ 13 ราย (11.3%) หลังจากติดตาม 6 เดือนหลัง EVL ครั้งแรก พบผู้ป่วยที่เกิดเลือดออกซํ้า 44 ราย ( 38.3 %) เป็นผู้ป่วย 25 ราย (57%) ที่มีเลือดออกจากการหลอดเลือดขอดที่หลอดอาหารซํ้า เลือดออกจาก gastric varices 2 ราย (4.5%) แผลที่หลอดอาหาร 2 ราย (4.5%) และสาเหตุอื่นๆ 4 ราย (9%) ผู้ป่วย 11 ราย (9.6%) ไม่ทราบสาเหตุของการเกิดเลือดออก ปัจจัยที่พบมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในผู้ป่วยที่เกิดเลือดออกซํ้าที่หลอดเลือดขอดที่หลอดอาหาร และกลุ่มที่ไม่เกิดเลือดออกชำ ได้แก่ ค่า total bilirubin (7.78 ± 12.7 vs 2.75 ± 3.07mg/dl, p=0.03), Child-Pugh score (9.22 ± 2.54 vs 7.95 ± 2.31, p=0.045), ค่า serum albumin (2.89 ± 0.57 vs 3.18 ± 0.61 g/dl, p=0.042) ความสำเร็จในการกำจัดหลอดเลือด (20% VS 71.8%, p=0.00) การตรวจพบ gastric variceal (28% vs 7.04%) และการเกิดมะเร็งตับ (24% VS 4.2%, p=0.04) เมื่อนำมาหาความสัมพันธ์ แบบ multiple logistic regression พบว่าปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับการเกิดเลือดออกซํ้าได้แก่ การเป็นโรคมะเร็งตับ (OR = 13.24, 95% Cl 1.932. 90 ± 838, P = 0.0085) และความสำเร็จในการกำจัดหลอดเลือด (OR = 0.062, 95% Cl 0.0163 ± 0.2385, p=0.0001) สรุป จากข้อมูลที่สรุปได้ว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดเลือดออกซํ้า โดยเฉพาะจากหลอดเลือดขอดที่หลอดอาหารภายใน 6 เดือน หลังทำ EVL ครั้งที่แรก ได้แก่ การที่ไม่สามารถกำจัด varices และการโรคเป็นมะเร็งตับ en_US
dc.description.abstractalternative Objectives : To determine factors related to rebleeding in cirrhotic patients within 6 months after the first session of endoscopic variceal ligation (EVL). Patients and Method : One-hundred-and-fifteen patients were enrolled between January 1993 to June 2000. There were 90 males and 25 females. EVL was performed every 2-3 week up to variceal obliteration. Followed up was made every 1-3 month thereafter. Clinical parameters, biochemical parameters and endoscopic findings, including numbers of rubber bands were recorded. Patients were followed up at least once in the six-month period following the first session of EVL. The study end points were 6 months after the first EVL or the occurrence of rebleeding within 6 months. Result : There were 115 cirrhotic patients undergoing EVL treatment. The mean age was 50.9 ± 12.1 years (range 24-85 years). Hepatocellular carcinoma was presented in 13 cases (11.3%). Sixty percent of patients had no underlying disease. At the 6-month end-point, 44 (38.3%) patients had rebleeding. Twenty-five patients (57%) rebleed from esophageal variceal rupture. Rebleeding was from gastric varices 2 cases (4.5%), from esophageal ulcer in 2 cases (4.5%), and from otherss causes in 4 cases (9.6%). The causes of rebleeding in 11 cases were undetermined, as gastroscopy could not be performed from poor patient conditions. The factors that showed significant difference between the variceal rebleeding group and the non-bleeding group were serum total bilirubin (7.78 ± 12.7 vs 2.75 ± 3.07 p=0.03), Child Pugh score (9.22 ± 2.54 vs 7.95 ± 2.31 p=0.045), obliteration rate (20% vs 71.8% p=0.00), presence of gastric varices (28.0% vs 7.04% p=0.012) and presence of hepatocellular carcinoma (24% vs 4.2% p=0.04). Multiple logistic regression analysis revealed 2 factors related to rebleeding after EVL 1 i.e. presence of hepatocellular carcinoma (OR = 13.24, 95% Cl 1.932 ± 90.838 p= 0.0085) and successful variceal obliteration (OR = 0.062, 95% Cl 0.0163 ± 0.2385 p=0.0001) Conclusion : These data suggest that factors related to rebleeding within 6 months after EVL were no obliteration of varices, presence of gastric varices and presence of hepatoma. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ตับแข็ง en_US
dc.subject หลอดอาหาร en_US
dc.subject Liver -- Cirrhosis en_US
dc.subject Esophagus en_US
dc.title ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเกิดเลือดออกซ้ำในผู้ป่วยโรคตับแข็งภายในเวลา 6 เดือน ภายหลังการรักษาหลอดเลือดขอดที่หลอดอาหารโดยวิธีรัดหลอดเลือดครั้งแรก en_US
dc.title.alternative Factors related to rebleeding in cirrhotic patients within 6 months after the first session of endoscopic variceal ligation en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline อายุรศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีช้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record