dc.contributor.advisor |
กรรณิการ์ อัศวดรเดชา |
|
dc.contributor.author |
ฉัตรทิพย์ กวีวัฒนา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-08-24T07:20:07Z |
|
dc.date.available |
2020-08-24T07:20:07Z |
|
dc.date.issued |
2552 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67678 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
en_US |
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถประสงค์ เพื่อศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของโครงการสังคมพอประมาณ โดยศึกษาจากการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยแบ่งวิธีการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ การศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ โดยศึกษาจากเอกสารโครงการและการสัมภาษณ์เจาะลึก ส่วนที่สองคือ การศึกษาประสิทธิผลของโครงการ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์หาค่าสัมปประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ในการประมวลผลรวม ผลการศึกษา พบว่า โครงการสังคมพอประมาณได้มีการประชาสัมพันธ์ที่เป็นขั้นตอนและมีแบบแผน หากแต่ยังไม่มีการประเมินผลการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพเพียงพอและพบว่า กลยุทธ์หลักในการประชาสัมพันธ์โครงการได้แก่ กลยุทธ์การใช้สื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงกลยุทธ์ใช้สื่อผสม กลยุทธ์การใช้สื่อสองทางที่สร้างการมีส่วนร่วม กลยุทธ์การใช้สื่อเพื่อสร้างกระแส และกลยุทธ์การใช้สื่อที่มีเทคโนโลยีทันสมัย ในส่วนของประสิทธิผลของโครงการ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารโครงการ ความรู้เกี่ยวกับโครงการ ทัศนคติต่อโครงการ และพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายอยู่ในระดับขปานกลาง ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า การเปิดรับข่าวสารไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับโครงการสังคมพอประมาณ ความรูเกี่ยวกับโครงการสังคมพอประมาณมีความสัมพันธ์กับทัศนคติของกลุ่มเป้าหมาย และทัศคติที่มีต่อโครงการสังคมพอประมาณไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to study the public relation strategies and effectiveness of the moderation society project. Documentary study, in - depth interview and survey were used to collect the data. For survey research, the samples were 400 people in Bangkok. Questionnaireswere used for data colleting. SPSS of Windows was employed for data processing. The data were analyzed in terms of percentage, mean and standard deviaton The result of the study revealed that the Moderation Society Project use of systematic public relaton process. However, its evaluaton process is not effective and thus needed to be improved, Moreover, the principal public relation strategies used were personal media and mass media Interms of the effectiveness of the project, the people were moderately exposed to the information, had knowledge of the project at the medium level, had medium attitudes and moderately practiced according to the public relations campaign of the project. The result of the assumption were as follows : 1. Therewas ecposed to the information not correlation with the knowledge of the project 2. The knowledge of the project correlation with attitude of the group sample 3. Attitude of the project not correlation behavor group sample. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.60 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การประชาสัมพันธ์ |
en_US |
dc.subject |
โครงการสังคมพอประมาณ -- การประชาสัมพันธ์ |
en_US |
dc.subject |
Public relations |
en_US |
dc.subject |
Moderation Society Project -- Public relations |
en_US |
dc.title |
กลยุทธ์และประสิทธิผลของการประชาสัมพันธ์โครงการสังคมพอประมาณ |
en_US |
dc.title.alternative |
Public relation strategies and effectiveness of the moderation society project |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
การประชาสัมพันธ์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Kannigah.As@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2009.60 |
|