DSpace Repository

การนำสืบประวัติและการกระทำในอดีตของจำเลยในคดีอาญา

Show simple item record

dc.contributor.advisor มุรธา วัฒนะชีวะกุล
dc.contributor.advisor จิรนิติ หะวานนท์
dc.contributor.author วัฒนา เอี่ยมอธิคม
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-09-16T07:33:14Z
dc.date.available 2020-09-16T07:33:14Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.isbn 9743345361
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67920
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำสืบประวัติและการกระทำในอดีตของจำเลยในคดีอาญา โดยพิจารณาตั้งแต่แนวคิดในการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญา ระบบการพิจารณาคดีอาญา การรับฟังพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับประวัติและการกระทำในอดีตของจำเลย เพื่อประกอบการพิจารณาและพิพากษาคดีของศาล การศึกษาพบว่า ประวัติและการกระทำในอดีตของจำเลยที่นำสืบเพื่อพิสูจน์องค์ประกอบความผิด เจตนาหรือมูลเหตุจูงใจของจำเลยในการกระทำความผิด ลักษณะรูปแบบการกระทำที่เป็นลักษณะเฉพาะของจำเลย ถือเป็นข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็นในคดีที่ศาลสามารถรับฟังเพื่อประกอบการพิจารณา ได้ แต่ในส่วนการนำสืบประวัติและการกระทำในอดีตของจำเลยในส่วนอื่นถือเป็นข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นในคดีอาญาและศาลจะไม่นำไปเพื่อประกอบการพิจารณาคดีแต่พยานหลักฐานดังกล่าวเข้าสู่การรับรู้ของศาลได้ซึ่งจะก่อให้เกิดผลต่อจิตใจของผู้พิพากษาในการพิจารณาและพิพากษาคดีซึ่งความเสี่ยงนี้อาจก่อให้เกิดการพิจารณาคดีที่ไม่เป็นไปโดยมีอคติจึงควรมีการกำหนดแนวทางเพื่อช่วยศาลในการใช้ดุลพินิจรับฟังพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องประวัติและการกระทำในอดีตของจำเลยโดยเฉพาะในคดีอาญา
dc.description.abstractalternative The purpose of this research is to study the examination of the offender’s history and past- conduct in criminal cases We will look at the concept of admissibility of evidence in criminal cases. criminal proceeding and the admissibility of offender’s history and past- conduct evidence as a basis for judge to consider. The researcher found that the offender’s history and past- conduct to prove the motivation and specific acts of the accused is deemed relevant and admissible facts the court can rely upon Apart from that aa deemed not relevant and not admissible Moreover. the court will not adopt it to consider in the case The offender’s history and past- conduct. however, may be perceived the court and will influence the judge’s mind in judicial proceedings and in rendering judgement. Accordingly, this may cause the judgement prejudicial. Therefore, there should be some judicial guidelines to help the courts while using discretion, particularly in the criminal cases. in the admissibility of evidence of the offender’s history and past-conduct.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject พยานหลักฐานคดีอาญ en_US
dc.subject การสืบสวนคดีอาญา en_US
dc.subject การกระทำในทางอาญา en_US
dc.subject การพิจารณาและตัดสินคดี -- คดีอาญา en_US
dc.subject การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน en_US
dc.subject การพิจารณาคดี -- คดีอาญา en_US
dc.subject วิธีการเพื่อความปลอดภัย en_US
dc.subject Evidence, Criminal en_US
dc.subject Criminal investigation en_US
dc.subject Criminal act en_US
dc.subject Trials en_US
dc.subject Weight the evidence en_US
dc.subject Trial practice en_US
dc.subject Measure of security en_US
dc.title การนำสืบประวัติและการกระทำในอดีตของจำเลยในคดีอาญา en_US
dc.title.alternative Examination of offender's history and past-conduct in criminal cases en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record