dc.contributor.author |
อรวรรณ ขมวัฒนา |
|
dc.contributor.author |
กัตติกา ตังธนกานนท์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2008-05-02T10:01:53Z |
|
dc.date.available |
2008-05-02T10:01:53Z |
|
dc.date.issued |
2525 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6802 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเห็นของอาจารย์และนักเรียนโรงเรียนสาธิตเกี่ยวกับวิชาดนตรีศึกษาที่มีส่วนสนับสนุนดนตรีไทย รวมทั้งศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนทางด้านดนตรีไทยในโรงเรียนสาธิตระดับมัธยมศึกษาในส่วนกลาง วิธีดำเนินการวิจัย ใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างประชากร คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมัธยมในส่วนกลาง จำนวน 440 คน และใช้การสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างประชากรคือ ผู้บริหาร และอาจารย์ผู้สอนเกี่ยวกับดนตรีในโรงเรียนสาธิตมัธยมในส่วนกลาง จำนวน 37 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้านปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการเรียนการสอนดนตรีศึกษา ตอลดจนข้อเสนอแนะจากแบบสอบถามนักเรียนและแบบสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้สอนโดยใช้หาค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย เปรียบเทียบตัวแปรคู่ต่าง ๆ ด้วยค่าไคสแควร์ (X[square] - test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ วิชาดนตรีศึกษามี่ส่วนสนับสนุนดนตรีไทยโดยนักเรียนได้รับความรู้จากวิชาดนตรีศึกษาเน้นหนักทางทฤษฎีมากกว่าทางปฏิบัติ ความถนัดทางดนตรีไทยของอาจารย์ผู้สอนวิชาดนตรีศึกษาและการเล่นดนตรีไทยได้ของคนในครอบครัวมีผลต่อการเล่นดนตรีไทยได้และความชอบทางด้านดนตรีไทยของนักเรียนที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ส่วนปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการเรียนการสอนดนตรีไทย คือผู้สอน และเครื่องดนตรีไทยมีไม่เพียงพอกับผู้เรียน สาเหตุจูงใจที่สำคัญที่ทำให้นักเรียนเล่นดนตรีไทยเป็นคือการมีพื้นฐานมาแต่เล็ก |
en |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were 91) to study the opinions of students, teachers, and school adminsitrators concerning as to whether music education facilitates the learning of Thai music; (2) to investigate problems and obstacles in teaching and learning Thai music in the demonstration schools at the secondary education level in the central region. A questionnaire was used in surveying the opinions of 440 students who constituted the sample. 35 school administrators and music teachers in the demostration schools were interviewed. The collected data were analyzed by means of percentages, arithmatic means and chi-square tests. The research results were as follows: Music education facilitates learning and teaching of Thai music. Students learned more theory than skills form their music education courses. The performance ability and the interest in Thai music of music education teachers along with the ability in performing Thai music of members of the students families influenced the students Thai music performance and their interest in Thai music significant at the .05 level. The important problems and obstacles inn theaching andn learning Thai music was lack of music instruments. The improtant factor related to performance ability in Thai music was the students' experience in Thai musci at an early age. |
en |
dc.description.sponsorship |
ุทุนวิจัยประมาณแผ่นดิน ปี 2525 |
en |
dc.format.extent |
8192761 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ดนตรี--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) |
en |
dc.subject |
ดนตรีไทย |
en |
dc.title |
ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชาดนตรีศึกษาที่มีส่วนสนับสนุนดนตรีไทย ในโรงเรียนสาธิต (มัธยม)ในส่วนกลาง |
en |
dc.title.alternative |
Opinions concerning of music education which supports the Thai music in the secondary demonstration school in the central parts of Thailand |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|