dc.contributor.advisor |
รัตยา โตควณิชย |
|
dc.contributor.author |
ปิยะวดี ขวัญศุภฤกษ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-09-21T06:41:54Z |
|
dc.date.available |
2020-09-21T06:41:54Z |
|
dc.date.issued |
2543 |
|
dc.identifier.issn |
9743464271 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68056 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงธุรกิจสื่อโฆษณาเคลื่อนที่ การเปิดรับสื่อและ ทัศนคติของคนกรุงเทพมหานครที่มีต่อสื่อโฆษณาเคลื่อนที่ ระเบียบวิจัยที่ใช้ในการศึกษามี 2 วิธีคือ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกบริษัทที่ได้รับสัมปทานให้เช่าพื้นที่โฆษณา และการใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครที่มีอายุระหว่าง 16-50 ปี จำนวน 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่ออธิบายผลใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน ผลการวิจัยพบว่า 1. สื่อโฆษณาเคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานครแต่ละประเภทมีคุณสมบัติและจุดเด่นที่แตกต่างกัน สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกัน 2. ผู้บริโภคมีการเปิดรับสื่อโฆษณาเคลื่อนที่ในระดับปานกลาง 3. สื่อโฆษณาเคลื่อนที่ที่ผู้บริโภคมีการเปิดรับมากที่สุดคือ สื่อโฆษณาทางรถโดยสารประจำทาง ข.ส.ม.ก. รองลงมาคือ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ (ปอ.) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศพิเศษ (ไมโครบัส) รถสามล้อเครื่อง รถแท็กซี่ รถไฟฟ้า BTS และรถไฟ 4. ผู้บริโภคมีทัศนคติที่เป็นกลางต่อสื่อโฆษณาเคลื่อนที่ 5. ผู้บริโภคมีทัศนคติที่ดีต่อสื่อโฆษณาทางรถไฟฟ้า BTS และรถโดยสารประจำทางปรับ อากาศ (ปอ.) มากกว่าสื่อโฆษณาเคลื่อนที่ประเภทอื่นๆ 6. การเปิดรับสื่อโฆษณาเคลื่อนที่กับทัศนคติที่มีต่อสื่อโฆษณาเคลื่อนที่ของผู้บริโภคมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to study transit advertising business, consumers’exposure and attitude towards transit advertising. This study was a qualitative and quantitative research. In the qualitative part, the transit advertising licensors were interviewed. In the quantitative part, questionairs were used to collect data from 400 Bangkokians eged 16-50 years. Frequency, percentage, means, Pearson’s Product Moment Correlation were used to analyze data through SPSS Windows. The results are as follow : 1. Each transit advertising in Bangkok has different characteristics to reach different target groups. 2. Consumers’ exposure to transit advertising was at the medium level. 3. Consumers’exposure to public bus advertising was highest, followed by public airbus, microbus, tuk tuk, taxi, BTS sky train and train advertising. 4. Consumes’ attitude towards transit advertising was neutral. 5. Consumers had more positive attitude towards BTS sky train advertising and public airbus advertising than other transit advertising. 6. Positive significant correlation between transit advertising exposure and attitude towards transit advertising was found. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2000.367 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
โฆษณา -- แง่จิตวิทยา |
en_US |
dc.subject |
สื่อมวลชน -- อิทธิพล |
en_US |
dc.subject |
ทัศนคติ |
en_US |
dc.subject |
Advertising -- Psychological aspects |
en_US |
dc.subject |
Mass media -- Influence |
en_US |
dc.subject |
Attitude (Psychology) |
en_US |
dc.title |
ธุรกิจสื่อโฆษณาเคลื่อนที่ การเปิดรับสื่อ และทัศนคติของคนกรุงเทพมหานครที่มีต่อสื่อโฆษณาเคลื่อนที่ |
en_US |
dc.title.alternative |
Transit advertising business, consumers' exposure and attitude towards transit advertising |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
การโฆษณา |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Rataya.t@chula.a.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2000.367 |
|