dc.contributor.advisor | สุธี พลพงษ์ | |
dc.contributor.author | อัจจิมา ลีรัตนชัย | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-10-08T03:45:38Z | |
dc.date.available | 2020-10-08T03:45:38Z | |
dc.date.issued | 2542 | |
dc.identifier.isbn | 9743342656 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68425 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | |
dc.description.abstract | ผลการวิจัยพบว่า รายการภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ในปัจจุบันมีรูปแบบรายการอยู่ 3 รูปแบบ อัน ได้แก่ รูปแบบพูดคุย รูปแบบเกมหรือตอบปัญหา และรูปแบบนิตยสารทางอากาศ ใช้วิธีการนำเสนอ 7 ลักษณะด้วยกัน คือ การบรรยาย การพูดคุย การสนทนา การสัมภาษณ์ เกมโชว์ การตอบปัญหา และละคร มี เนื้อหาทั้งหมด 4 ประเภท คือ สำนวนและคำสแลง คำศัพท์ การสนทนาภาษาอังกฤษ และหลักการออกเสียงคำในภาษาอังกฤษ ซึ่งเนื้อหาที่นำเสนอดังกล่าวมีส่วนช่วยเสริมสร้างทักษะความรู้ภาษาอังกฤษทางด้านทักษะการฟังและทักษะการพูดให้แก่ผู้ชม นอกจากนี้ยังพบว่า รายการภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ส่วนใหญ่จะนำเสนอความรู้ภาษาอังกฤษผ่านรูปแบบของความบันเทิงด้วย สำหรับความอยู่รอดทางธุรกิจของรายการภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์พบว่า มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ ความอยู่รอดของรายการภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์อยู่ 2 ลักษณะ คือ ปัจจัยภายในองค์กรผู้ผลิตรายการภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ และปัจจัยจากสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กรผู้ผลิตรายการภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ และปัจจัยภายในองค์กร ได้แก่ 1. ตัวองค์กรผู้ผลิต 2. งบประมาณในการผลิต 3. ตัวรายการภาษาอังกฤษ ส่วนปัจจัยภายนอกองค์กร ได้แก่ 1. ผู้อุปถัมภ์รายการ 2. คู่แข่งขัน 3. นโยบายของสถานีโทรทัศน์ 4. ความต้องการของผู้ชม 5. แรงกดตันทางสังคม โดยปัจจัยที่มีความสำคัญมากต่อความอยู่รอดทางธุรกิจของรายการภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ ก็คือ ตัวองค์กรผู้ผลิตเองและผู้อุปถัมภ์รายการ | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to analyze the formats, presentation techniques, contents and business viability of TV’s English educational programs. Data were collected by depth interview, recording English educational programs and useful secondary data. The result shows that the English educational programs nowadays are presented in 3 different formats; that are straight talk program, game or quiz show program and magazine program. Three straight talk program, 3 game or quiz show program and 3 magazine program are found in this analysis. They are classified into 7 types of presentation technique; that are narration, straight talk, dialogue, interview, game show, quiz show and drama. Four contents also included: idiom & slang, vocabulary, conversation and pronunciation. It is found that most English educational programs emphasize only English listening skill and English speaking skill. As for business viability of TV’s English educational programs, there have been 2 types of factors affecting their business viability; internal factors and external factors. Internal factors are found that there are the organization, the budget, the program. External factors are the sponsors, the competitors, the television station policy, the audience interest or demand and social pressures. Among these factors, the organization and the sponsors are considered as the most important factors. | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | |
dc.subject | โทรทัศน์เพื่อการศึกษา | |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน | |
dc.title | รูปแบบการนำเสนอ และความอยู่รอดทางธุรกิจของรายการภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ | |
dc.title.alternative | Formats and business viability of TV's English educational programs | |
dc.type | Thesis | |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การสื่อสารมวลชน | |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |