DSpace Repository

การเปิดรับสื่อและพฤติกรรมจริยธรรมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor จาระไน แกลโกศล
dc.contributor.author มณฑลี หนูสีใส
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศคาสตร์
dc.coverage.spatial กรุงเทพฯ
dc.date.accessioned 2020-10-08T08:01:50Z
dc.date.available 2020-10-08T08:01:50Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.issn 9743348255
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68446
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะ และความสัมพันธ์ของ การเปิดรับสื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมจริยธรรมของวัยรุ่น อายุ 15 - 24 ปี จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 413 คน การ วิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่า เฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การทดสอบ ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ตามวิธีของ Scheffe ซึ่งประมวล ผลโดยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ที่ระดับความมีนัยสำคัญ 05 และ 01 สรุปผลการวิจัยได้ดังต่อไปนี้ 1 การเปิดรับสื่อมวลชนกับการเปิดรับสื่อบุคคลไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 2. ผู้ที่เปิดรับสื่อจากช่องทาง และปริมาณแตกต่างกัน มีพฤติกรรมจริยธรรมตามการรับรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. ผู้ที่เปิดรับสื่อจากช่องทาง และปริมาณแตกต่างกัน มีทัศนคติต่อพฤติกรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4.ผู้ที่เปิดรับสื่อจากช่องทาง และปริมาณแตกต่างกัน มีพฤติกรรมจริยธรรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5. ผู้ที่มีปริมาณการเปิดรับสื่อบุคคลแตกต่างกัน มีพฤติกรรมจริยธรรมตามความเชื่อเกี่ยวกับกลุ่ม อ้างอิง ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 6. พฤติกรรมจริยธรรมตามการรับรู้กับพฤติกรรมจริยธรรมไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ 7. พฤติกรรมจริยธรรมตามประสบการณ์ตรงกับพฤติกรรมจริยธรรมมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญ ระดับ .01 8. พฤติกรรมจริยธรรมตามความเชื่อเกี่ยวกับกลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมจริยธรรมมีความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
dc.description.abstractalternative The objectives of this survey research were to investigate the characters of moral behavior - in perception, in direct experience, according to subjective norm and in term of intention - attitudes toward moral behavior, media exposure and relationships among these factors. The 413 subjects were randomized from Bangkok adolescents who are at the age between 15-24 year old The data was collected by questionnaires and analyzed by SPSS statistical package to obtain percentage, mean, Two Way ANOVA, Scheffe and Pearson Product Moment Correlation coefficient at significance level of .05 and .01 The results of the research could be summed up as follows: 1. Mass media exposure and interpersonal channel exposure behavior do not correlate at significant level of .05 2. Those persons expose to variety of channels source of moral behavior and vanety of frequency of exposure does not significantly differ among each other 3. Attitude toward moral behavior among 3 group of adolescents which had different level of variety of channels does not significantly differ. 4. Media exposure and moral behavior do not significantly correlate. 5. Moral behavior from subjective norm among 3 groups of adolescents which had difference level of interpersonal channel exposure does not significantly correlate. 6. Moral behavior from intention significantly correlates with moral behavior from perception. 7. Moral behavior from direct experience significantly correlates with moral behavior from intention 8. Moral behavior from personal belief in reference group significantly correlates with moral behavior from intention.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject การเปิดรับสื่อมวลชน
dc.subject วัยรุ่น
dc.subject จริยธรรม
dc.subject จิตวิทยาวัยรุ่น
dc.title การเปิดรับสื่อและพฤติกรรมจริยธรรมของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร
dc.title.alternative Media exposure and moral behavior of adolescents in Bangkok Metropolis
dc.type Thesis
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline นิเทศศาสตรพัฒนาการ
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record