dc.contributor.advisor |
ปารีณา ศรีวนิชย์ |
|
dc.contributor.author |
ธัชพงษ์ วงษ์เหรียญทอง |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-11-10T08:11:27Z |
|
dc.date.available |
2020-11-10T08:11:27Z |
|
dc.date.issued |
2546 |
|
dc.identifier.isbn |
9741749988 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69294 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 |
en_US |
dc.description.abstract |
พระราชบัญญัติที่ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 มีวัตถุประสงค์ในการลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดโดยการบำบัดรักษาและที่ฟื้นฟูสมรรถภาพ ด้วยวิธีการให้อำนาจรัฐซึ่งเป็นฝ่ายบริหารได้แก่ อัยการและคณะอนุกรรมการที่ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดดำเนินการบังคับบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด โดยปราศจากอำนาจศาล ซึ่งผลการศึกษาพบว่ามาตรการทางกฎหมายดังกล่าวแม้จะเหมาะสมสำหรับตอบสนองนโยบายของรัฐที่มุ่งต้องการลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดและสอดคล้องกับทางปฏิบัติ แต่ทั้งนี้กฎหมายดังกล่าวไม่ใด้มีการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหาเท่าที่ควร โดยมีข้อบกพร่องและข้อจำกัดบางประการอันก่อให้เกิดปัญหาการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวทั้งทางข้อกฎหมายและทางปฏิบัติที่ทำให้ส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของบุคคลรวมตลอดถึงการบังคับใช้กฎหมายไม่บรรลุวัตถุประสงค์เท่าที่ควร ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องเพื่ออุดช่องว่างที่เป็นปัญหาชองพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 เพื่อให้กฎหมายมีความชัดเจนและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพชองประชาชน ตลอดจนตอบสนองนโยบายด้านยาเสพติดของรัฐใด้ดียิ่งขึ้นในการบังคับใช้ |
|
dc.description.abstractalternative |
The Narcotic Addict Rehabilitation Act, B.E.2545 is aimed at reducing the numbers of drug addicts by means of treatment and rehabilitation. It has provided the executive branch, namely public prosecutors and the subcommittee on the narcotic addict rehabilitation, the power to refer drug addicts to treatment, without the judicial review. Although the measures under this Act is concurrent with the state policy in reducing the numbers of drug addicts, this thesis explored and found flaws in the enforcement of this act, both legal and practical aspects. This Act also fails to protect rights and liberty of the people at certain level. Thus, this thesis suggests the amendment and improvement to fill those unclear provisions to make the Narcotic Addict Rehabilitation Act, B.E.2545 best serve the state’s the policy goals. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 |
en_US |
dc.subject |
คนติดยาเสพติด -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
การบังคับใช้กฎหมาย -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
Narcotic Addict Rehabilitation Act, B.E. 2545 |
en_US |
dc.subject |
Drug addicts -- Rehabilitation -- Law and legislation -- Thailand |
en_US |
dc.subject |
Law enforcement -- Thailand |
en_US |
dc.title |
การบังคับใช้พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 : ปัญหาข้อกฎหมายและแนวทางปฏิบัติ |
en_US |
dc.title.alternative |
Enforcement of Narcotic Addict Rehabilitation Act, B.E. 2545 : legal issues and practices |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
นิติศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
นิติศาสตร์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Pareena.S@Chula.ac.th,pareena.lawchula@gmail.com |
|