dc.contributor.advisor |
ณับผลิกา กองพลพรหม |
|
dc.contributor.author |
นิชา รวมทรัพย์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-11-11T10:07:17Z |
|
dc.date.available |
2020-11-11T10:07:17Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69476 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 |
|
dc.description.abstract |
วิธีการศึกษา : เป็นการศึกษาแบบ randomized controlled trial (RCT) ในผู้ป่วยที่ต่อเครื่องช่วยหายใจมากกว่า 48 ชั่วโมง ผ่านการฝึกหายใจด้วยวิธี spontaneous breathing trial (SBT) และมีแรงไอไม่เพียงพอ ผู้ป่วยจะถูกแบ่งเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มควบคุม (control group) และกลุ่มที่ใช้เครื่องช่วยไอ (MI-E group) กลุ่มที่ใช้เครื่องช่วยไอจะใช้ในช่วง 48 ชั่วโมงแรกหลังถอดท่อช่วยหายใจ ทั้งสองกลุ่มจะได้รับการรักษาอื่นๆตามมาตรฐาน ผลการศึกษาหลักคืออัตราการใส่ท่อช่วยหายใจใหม่ภายใน 48 ชั่วโมงหลังถอดท่อช่วยหายใจ ผลการศึกษารองคือการเปลี่ยนแปลงระดับออกซิเจนในเลือด การเปลี่ยนแปลงของแรงไอ การใช้ noninvasive ventilator (NIV) และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นภายในระยะเวลา 48 ชั่วโมง
ผลการศึกษา: ผู้ป่วยจำนวน 49 คนที่เข้าการศึกษา 26 คนในกลุ่ม MI-E และ 23 คนในกลุ่มควบคุม มีผู้ป่วย 2 คนจากกลุ่ม MI-E ที่ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจใหม่ ผู้ป่วยในกลุ่ม MI-E มีความแตกต่างของค่า P/F ratio ในช่วง 24 และ 48 ชั่วโมงหลังถอดท่อช่วยหายใจอยู่ที่ 21.36±65.75 mmHg ในกลุ่ม MI-E และ 2.07±51.7 mmHg ในกลุ่มควบคุม (p= 0.267) ค่า CPF ที่ 48 ชั่วโมงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในกลุ่ม MI-E เท่ากับ 8.24±17.41 LPM และ 0±44.85 LPM ในกลุ่มควบคุม (p= 0.483) ไม่พบการเกิด adverse events ในทั้งสองกลุ่ม
สรุปผลการวิจัย: การใช้เครื่องช่วยไอหลังถอดท่อช่วยหายใจไม่สามารถป้องกันการเกิด reintubation แต่อาจทำให้ระดับออกซิเจนและแรงไอเพิ่มขึ้นได้ในช่วง 48 ชั่วโมงหลังถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน |
|
dc.description.abstractalternative |
Objective: To evaluate of the effect of Mechanical Insufflation-exsufflation (MI-E) on reintubation rate in patient with ineffective cough
Methods: We conducted an RCT to determine the efficacy of MI-E to reduce reintubation during a postextubation period. Patients assisted with MV for > 48 hours who passed SBT but impaired cough strength were enrolled. The patients were randomized to the control group or MI-E group. The airway clearance procedure with MI-E was applied in the MI-E group during the 48-hour postextubation period. Both groups received the same standard care. The primary outcome was the reintubation rate in 48 hours after extubation.
Results: Totally, 49 patients were enrolled; 26 in the MI-E group and 23 in control group. There was 2 patient in the MI-E group reintubated due to volume overload and vocal cord edema. The MI-E group tended to have better oxygen improvement between 24 and 48 hours after extubation with PF ratio difference of 21.36 ± 65.75 mmHg in MI-E group VS 2.07 ± 51.7 mmHg in the control group, p= 0.267. No adverse events appeared in both groups. CPF tended to increase in MI-E group (the difference of CPF 8.24 ± 17.41 LPM in MI-E group and 0 ± 44.85 LPM in control group, p= 0.483)
Conclusions: The cough assist procedure during the postextubation period did not prevent reintubation but might improve oxygenation and cough strength during the 48-hour postextubation period without increased adverse events. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.1483 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject.classification |
Medicine |
|
dc.title |
ผลของการใช้เครื่องช่วยไอต่ออัตราการใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำในผู้ป่วยที่มีแรงไอไม่เพียงพอ |
|
dc.title.alternative |
The effects of using mechanical cough assist on reintubation rate in patients with ineffective cough |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
อายุรศาสตร์ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2019.1483 |
|