DSpace Repository

กระบวนการสร้างกรอบโครงความคิดของขบวนการเสื้อแดง จังหวัดขอนแก่น

Show simple item record

dc.contributor.advisor กนกรัตน์ เลิศชูสกุล
dc.contributor.author ชุติเดช สำเร็จ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-11-11T14:05:40Z
dc.date.available 2020-11-11T14:05:40Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70392
dc.description วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ อธิบายความขัดแย้งทางการเมืองไทยในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ผ่านการวิเคราะห์ขบวนการเสื้อแดง จังหวัดขอนแก่น โดยใช้ทฤษฎีกรอบโครงความคิด (framing) เป็นเครื่องมือหลักในการทำความเข้าใจขบวนการ วิธีการดำเนินเลือกใช้การวิจัยด้านเอกสาร (documentary research) การสัมภาษณ์เชิงลึก (in-dept interview)  ประวัติศาสตร์จากคำบอกเล่า (oral history) และการสนทนากลุ่ม (focus group) ของผู้นำและมวลชนคนเสื้อแดงจังหวัดขอนแก่น งานศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่ากรอบโครงความคิดของความอยุติธรรม (injustice frame) เป็นกรอบโครงความคิดหลัก (master frame) ของขบวนการเสื้อแดงเชื่อมโยงรวบรวมความคิดทางการเมืองของชาวบ้านที่หลากหลาย อยู่กระจัดกระจายและอ่อนแอได้ กรอบโครงความคิดที่ถูกสร้างขึ้นได้ร้อยรัดทัศนคติที่แตกต่างกันของปัจเจกบุคคล และสร้างความหมายร่วมกันของคนเสื้อแดงลุกขึ้นมามีปฏิบัติการทางการเมือง อย่างไรก็ตามกระบวนการสร้างกรอบโครงความคิดของขบวนการเสื้อแดงก็มิได้เป็นไปอย่างง่ายดาย แต่ทว่างานศึกษานี้ค้นพบกระบวนการตอบโต้กรอบโครงความคิด (counter framing) การปะทะ ต่อสู้ ต่อรองของมวลชนในฐานะผู้กระทำการทางการเมือง (political actor) มวลชนมิได้นำเชื่อกรอบโครงความคิดที่ถูกผลิตขึ้นอย่างง่ายดาย จนในบางครั้งมวลชนเองก็มีความพยายามที่จะลบล้างเพื่อสร้างกรอบโครงความคิดใหม่ขึ้นมาทดแทน (reframing)
dc.description.abstractalternative This study explicates Thailand’s political conflict within the past two decades through an analysis of the Red Shirt Movement in Khon Kaen and the utilization of framing theory as a fundamental tool through which a better understanding of the movement is achieved. Methods implemented in the study include documentary research, in-depth interviews, oral history, and focus group discussions by leaders and supporters of the Red Shirt Movement in Khon Kaen. The research findings illustrate that the injustice frame acts as the movement’s master frame, in which the locals’ varied and weakly dispersed political thoughts are consolidated. The constructed frames have connected each individual’s distinct frames of reference and given rise to a shared value among politically active followers. Nevertheless, the framing process was not without hindrances; counter-framing, clashes, conflicts, and bargains from the supporters as political actors have also been observed in this study. Questioning the constructed frame, the adherents, at times, sought to deconstruct and commence with the process of reframing.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.651
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
dc.subject ความขัดแย้งทางการเมือง -- ไทย
dc.subject ไทย -- การเมืองและการปกครอง
dc.subject Thailand -- Politics and government
dc.subject.classification Social Sciences
dc.title กระบวนการสร้างกรอบโครงความคิดของขบวนการเสื้อแดง จังหวัดขอนแก่น
dc.title.alternative Framing process of the Khon Kean red shirt movement
dc.type Thesis
dc.degree.name รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การเมืองและการจัดการปกครอง
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.email.advisor Kanokrat.L@Chula.ac.th
dc.subject.keyword การเมืองไทย
dc.subject.keyword ขบวนการเสื้อแดง
dc.subject.keyword กรอบโครงความคิด
dc.subject.keyword THAI POLITICS
dc.subject.keyword RED SHIRT MOVEMENT
dc.subject.keyword FRAMING PROCESS
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2019.651


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record