DSpace Repository

รูปแบบที่เหมาะสมของชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมของไทย ในการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามรัฐธรรมนูญ

Show simple item record

dc.contributor.advisor อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ์
dc.contributor.author ประวิทย์ ตั้งคงนุช
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-12-09T01:46:31Z
dc.date.available 2020-12-09T01:46:31Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741743416
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71433
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบที่เหมาะสมในการมีส่วนร่วมจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นตั้งเดิม แนวคิดและขอบเขตของสิทธิ ตลอดจนระดับและ ขั้นตอนในการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นตั้งเดิมตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธดักราช 2540 ผลการศึกษาพบว่า การมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่น ตั้งเดิมตามหลักการพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืนมีความสัมพันธ์กับจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ หรือวัฒนธรรมของชุมชนโดยถือเป็นสิทธิในสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับหลักนิติรัฐซึ่งต้องเป็นไปตามบทบัญญัติ ของกฎหมาย ขณะที่รูปแบบการจัดการในปัจจุบันมีหน่วยงานภาครัฐเป็นผู้ดำเนินการโดยไม่ปรากฏว่ามี กฎหมายฉบับใดรับรองสิทธิของชุมชนท้องถิ่นตั้งเดิมในการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ แม้ชุมชนที่มีลักษณะเป็นชุมชนท้องถิ่นตั้งเดิมจะมีดักยภาพในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แต่ความไม่ชัดเจนของกฎหมายและรูปแบบของการมีส่วนร่วมดังกล่าว ส่งผลให้ศักยภาพของชุมชนลดลง ดังนั้น หากภาครัฐจะได้บัญญัติกฎหมายให้ชัดเจนก็จะทำให้ชุมชนท้องถิ่น ตั้งเดิมสามารถมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จากสภาพปัญหาดังกล่าว ผู้เขียนจึงเสนอแนะให้มีการจัดทำกฎหมายเพื่อรับรองสิทธิของชุมชน ท้องถิ่นตั้งเดิม และเสนอรูปแบบในการบัญญัติกฎหมายเพื่อรับรองสิทธิดังกล่าว อาทิเช่น การกำหนดนิยาม ของชุมชนท้องถิ่นตั้งเดิมให้ชัดเจนสอดคล้องตามหลักการในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธดักราช 2540การกำหนดให้มีองค์กรที่เกี่ยวข้องตามกฎหมายทั้งในส่วนของประชาชนองค์กรภาครัฐและชุมชนท้องถิ่น ตั้งเดิม รวมทั้งการกำหนดอำนาจหน้าที่และความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรดังกล่าว ระดับการมีส่วนร่วมของ ชุมชนท้องถิ่นตั้งเดิมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การระงับข้อพิพาท ตลอดจนการ เสริมสร้างศักยภาพความเข้มแข็งของชุมชนโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งจะส่งผลต่อการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืนมากยิ่งขึ้น
dc.description.abstractalternative The purpose of this research is not only to study and analyses viable models of the thai traditional community participation in natural resources and environment management under the provision of the constitution of the Kingdom of Thailand B.E.2540 but also to consider viewpoint 1 limit of that right 1 level and procedure of thai traditional community participation. The outcome of this research indicates that participation of thai traditional communities under the balance fashion and sustainable development are related with their customs, local knowledge. Arts or good culture of their community. It is customary that the environment' right agreement with legal state. In present time 1 the models of natural and environment management are processed by the government organization. Although thai traditional communities have capable in managemet but their participation models and laws are not obviouse. For this reason, the community’s capable in natural resources and environmet management are subsided.Therefore, if the state approves and prescribes the law for obviously, the thai traditional communities participation in natural resources and environmet management will be more efficient. The above mentioned problems, therefore, the recommends to propose these following recommendations: 1. Enacting the law for obviously about the provision of any rules, powers and duties of the thai traditional community participation. 2. Defining the meaning of thai traditional communitys to be in line with the constitution of the Kingdom of Thailand B.E.2540. 3. Designating organs, authority 1 level and procedure of participation, and prescribing rules for the relationship and dispute resolution.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน en_US
dc.subject การจัดการสิ่งแวดล้อม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน en_US
dc.subject รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 en_US
dc.subject Natural resources -- Management -- Citizen participation en_US
dc.subject Environmental management -- Citizen participation en_US
dc.title รูปแบบที่เหมาะสมของชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมของไทย ในการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามรัฐธรรมนูญ en_US
dc.title.alternative Viable models of the Thai traditional community participation in natural resources and environment management under the provision of the constitution en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Eathipol.S@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record