DSpace Repository

การเปรียบเทียบความสามารถในการชะลอการได้รับความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่มีรูปแบบการคิดแบบหุนหันและแบบไตร่ตรอง

Show simple item record

dc.contributor.advisor เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์
dc.contributor.author อนัญญา อนุพรวัฒนากิจ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2021-02-05T04:36:35Z
dc.date.available 2021-02-05T04:36:35Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.isbn 9743470468
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72144
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการชะลอการได้รับความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาเพศหญิงและเพศชายอายุ 7 ปี ที่มีรูปแบบการคิดแบบหุนหันและแบบไตร่ตรองที่ได้จากการวัดโดยแบบทดสอบ Matching Familiar Figures Test ของ Kagan กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 60 คน เป็นเด็กที่มีรูปแบบการคิดแบบหุนหัน 30 คน เพศชาย 15 คน เพศหญิง 15 คน และเด็กที่มีรูปแบบการคิดแบบไตร่ตรอง 30 คน เพศชาย 15 คน เพศหญิง 15 คน หลัง จากนั้นทำการทดสอบความสามารถในการชะลอการได้รับความพึงพอใจ โดยให้เด็กตัดสินใจเลือกระหว่างการรับรางวัลแบบชะลอการได้รับความพึงพอใจที่มีมูลค่ามากกว่าหรือรับรางวัลแบบทันทีที่มีมูลค่าน้อยกว่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี้คือ การทดสอบไคสแควร์ (Chi-square test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาที่มีรูปแบบการคิดแบบไตร่ตรองตัดสินใจเลือกรับรางวัลแบบชะลอการได้รับความพึงพอใจมากกว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาที่มีรูปแบบการคิดแบบหุนหันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ไม่พบความแตกต่างระหว่างเด็กชายและเด็กหญิงในการเลือกรับรางวัลแบบชะลอการได้รับความพึงพอใจ en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this thesis was to compare the ability to delay gratification in 60 seven-year-old elementary school pupils with impulsive and reflective cognitive styles as classified by Kagan's Matching Familiar Figures Test .The subjects consisted of 30 children with impulsive cognitive style( 15 boys and 15 girls ) and 30 children with reflective cognitive style (15 boys and 15 girls).Children’s ability to delay gratification was tested by asking each child to choose between a delayed larger reward and an immediate smaller one. The Chi-square test was used for statistical analysis. The results are as follows; 1. There were significantly more elementary school pupils with reflective cognitive style who chose the delayed larger reward than did the elementary school pupils with impulsive cognitive style (p < .01). 2. There was no difference between boys and girls in their choosing of the delayed larger reward. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject แบบการคิด en_US
dc.subject การควบคุมตนเอง en_US
dc.subject นักเรียนประถมศึกษา en_US
dc.subject จิตวิทยาเด็ก en_US
dc.subject พฤติกรรมของเด็ก en_US
dc.subject ความพอใจ en_US
dc.subject Cognitive styles en_US
dc.subject Satisfaction en_US
dc.subject Child psychology en_US
dc.title การเปรียบเทียบความสามารถในการชะลอการได้รับความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่มีรูปแบบการคิดแบบหุนหันและแบบไตร่ตรอง en_US
dc.title.alternative A comparison of the ability to delay gratification in elementary school pupils with impulsive and reflective cognitive styles en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยาพัฒนาการ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record