DSpace Repository

วาทศิลป์ในเพลงไทยสมัยนิยม

Show simple item record

dc.contributor.advisor อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท
dc.contributor.author อภิรดี ภู่ภิรมย์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-02-08T08:00:15Z
dc.date.available 2021-02-08T08:00:15Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.isbn 9741313462
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72179
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาลักษณะทางวาทศิลป์ของเพลงไทยสมัยนิยม โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ และ การวิเคราะห์เพลงที่มีวาทศิลป์ที่ได้รับการคัดเลือกจากผู้ฟังจำนวน 114 เพลง ผู้วิจัยได้ใช้เกณฑ์ 5 ประการของวาทศาสตร์ (5 Canons) เป็นกรอบหลักในการวิจัย โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ 1. การคิดค้นเนื้อหา ประกอบด้วยแนวคิดในการคิดเนื้อหาเพลง ประเภทของความคิดหลักในเพลง และ ระบบเหตุผลในเพลง 2. การจัดเรียบเรียงสาร ประกอบด้วยรูปแบบการเล่าเรื่อง ลักษณะการสัมผัสคำ การแบ่งท่อนทำนอง การซ้ำท่อนสร้อย 3.ลีลาการใช้ภาษา ประกอบด้วย การใช้โครงสร้างแบบขนาน .การซํ้าคำ , การเปรียบเทียบและการใช้สัญลักษณ์ที่น่าสนใจ , การสร้างให้คำหรือประโยคเด่นของเพลงให้เป็นที่จดจำโดยการซํ้า , การใช้ข้อความขัดแย้งและวิกตภาวะ 4. การส่งสารประกอบด้วย การใช้เสียงอย่างมีความหมาย เช่น การเลือกเน้นเสียงร้อง หรือ เลือกใช้เครื่องดนตรีเพื่อสร้างอารมณ์ที่ต้องการให้กับเพลง ในส่วนของการประกอบสร้างนั้น ผู้วิจัยได้ใช้มุมมองแบบระบบ ซึ่งเน้นถึงว่า องค์รวมเป็นมากกว่าผลบวกของส่วนประกอบแต่ละส่วนมาอธิบายเพลง ซึ่งไม่ใช่มีเพียงเนื้อเพลง ทำนอง และ ดนตรีเท่านั้น แต่ปัจจัยที่จะทำให้เพลงนั้นน่าประทับใจหรือไม่ยังขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของเนื้อร้องกับทำนอง เนื้อร้องกับดนตรี ทำนองกับดนตรี และความสัมพันธ์ของทั้ง 3 ส่วนอีกด้วย en_US
dc.description.abstractalternative This research discussed rhetoric in Thai popular songs by interviewing the famous song composers and vocalist instructors and analysing the most 114 impressive songs selected by the listeners The researcher divided rhetoric in songs into 4 catagories using 4 of the 5 canons as the methodology : 1. invention which comprised content invention , types of themes and reasoning system; 2. disposition which refered to types of narrative, forms of poem, numbers of song's melody and numbers of hooks repeated; 3. style which covered parallel structers , repeated words, simile and symbolic using .antithesis and song climax; 4. delivery which was vocal and music expression. The song 's construction was explained by systems perspectives which emphasised that the whole system was more than the sum of the contributions of each individual part , Thus, songs would be determined as impressive not by words , melody or music arrangement individually , but also by the relation of each part to one another. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject วาทวิทยา en_US
dc.subject เพลงไทย en_US
dc.title วาทศิลป์ในเพลงไทยสมัยนิยม en_US
dc.title.alternative Rhetoric in Thai popular songs en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วาทวิทยา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record