DSpace Repository

ขนาดธาตุเหล็กทดแทนที่เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะขาดธาตุเหล็ก ในผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ที่ได้รับการรักษาด้วยอิริโธรพอยอิติน

Show simple item record

dc.contributor.advisor เกรียง ตั้งสง่า
dc.contributor.advisor สมชาย เอี่ยมอ่อง
dc.contributor.author สุวัฒนชัย เนื้อนวลสุวรรณ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-02-10T05:57:32Z
dc.date.available 2021-02-10T05:57:32Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.isbn 9741311613
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72201
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract ที่มาและเหตุผล การให้ธาตุเหล็กทางหลอดเลือดดำมีรับการแนะนำจาก NKF-DOQI ให้ใช้รักษาภาวะการขาดธาตุเหล็ก ตามคำจำกัดความที่ว่า TSAT ตํ่ากว่าร้อยละ 20 อันสามารถพบได้บ่อยในผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมที่ได้รับอิริโธรพอยอิติน หลังจากการให้ธาตุเหล็ก 1,000 มิลลิกรัม แล้วให้ต่อด้วย 25-100 มิลลิกรัมต่อสัปดาห์เพื่อคงปริมาณธาตุเหล็กไว้ให้เพียงพออยู่เสมอ จุดประสงค์ เพื่อหาขนาดธาตุเหล็กทดแทนที่เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะการขาดธาตุเหล็กในผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมที่ได้รับการรักษาด้วยอิริโธรพอยอิติน วิธีการศึกษา ทำการศึกษาในผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมที่ได้รับการรักษาด้วยอิริโธรพอยอิตินในขั้นต้นจำนวน 25 คน ผู้ป่วยที่ครบเกณฑ์การศึกษาทั้งสิ้น 9 คน ซึ่งมีระดับ TSAT ตํ่ากว่าร้อยละ 20 ผู้ป่วยได้รับธาตุเหล็กทางหลอดเลือดดำ 1,000 มิลลิกรัม และได้รับการติดตามจนกระทั่งระดับ TSAT ตํ่ากว่าร้อยละ 20 อีกครั้งหนึ่ง จึงได้ธาตุเหล็กทางหลอดเลือดดำอีก 1,000 มิลลิกรัม แล้วให้ในขนาดทดแทน 100 มิลลิกรัม ทุก 1/10 ของระยะเวลาระหว่างการให้ธาตุเหล็ก 1,000 มิลลิกรัม 2 ครั้ง แล้วเปรียบเทียบระดับ TSAT หลังจากที่ได้ธาตุเหล็กในขนาดทดแทน4 และ 8 สัปดาห์กับระดับ TSAT หลังจากการให้ธาตุเหล็ก 1,000มิลลิกรัมครั้งที่ 2 ผลการศึกษา หลังจากให้ธาตุเหล็ก 1,000มิลลิกรัมครั้งแรกระดับ TSAT สูงขึ้นจากร้อยละ16.41 ± 0.54 เป็น 29.34 ± 2.58 (mean ± SE) หลังจากเริมให้ธาตุเหล็กเฉลี่ย 155.5 ± 29.3 กัน ระดับ TSAT ได้ลดลงมาเหลือร้อยละ 16.24 ± 0.48 หลังจากให้ธาตุเหล็ก 1,000 มิลลิกรัม ครั้งที่ 2 แล้ว ระดับ TSAT เพิ่มขึ้นเฉลี่ยเป็นร้อยละ 33.69 ± 3.87 เมื่อให้ในขนาดทดแทน 100 มิลลิกรัมทุกระยะเวลาเฉลี่ย 15.55 ± 2.9 กันแล้ว สามารถคงระดับ TSAT ไว้ที่ร้อยละ 38.48 ± 5.4, 37.10 ± 0.15, 34.19 ± 3.59, 34.12 ± 6.60 หลังจากเริ่มขนาดทดแทน 4, 8, 12 และ 16 สัปดาห์ตามลำดับ โดยไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ (p>0.70) สรุป การหาขนาดธาตุเหล็กทดแทนที่เหมาะสมในผู้ป่วยสามารถคงระดับ TSAT ในผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมที่ได้รับการรักษาด้วยอิริโธรพอยอิตินได้อย่างน้อย 4 เดือนระยะห่างสำหรับการให้ธาตุเหล็กทดแทนในผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมมีได้รับการรักษาด้วยอิริโธรพอยอิตินมีค่าประมาณ 15 วัน en_US
dc.description.abstractalternative Background Intravenous iron therapy has been recommended by NKF-DOQI in correction of iron deficiency, defined by transferrin saturation (TSAT) less than 20%, commonly observed in Erythropoietin-treated hemodialysis patient. After a loading dose of 1,000 mg, iron at the dose of 25-100 m g/w eek I S given to maintain adequate iron status. There are no available data regarding how to appropriately prescribe the intravenous iron in maintenance period in individual patient. Objective To determine the appropriate intravenous iron maintenance dosage in individual treated-treated hemodialysis patients. Methods The studies were performed in 9 stable hemodialysis patients who have TSAT values less than 20%. Each patient was treated with a loading dose of 1,000 mg intravenous iron. The TSAT concentrations were periodically followed up until the values were lower than 20%. The patients were retreated with the 1,000 mg iron loading dose and, then, with a 100 mg iron maintenance dose at an interval of one-tenth of the duration between both loading doses. The TSAT concentrations were determined monthly for three consecutive months Result After the first iron loading dose, the TSAT concentrations w ere increased from 16.41 ± 0.54 (mean ± SE) % at the baseline to 29.34 ± 2.58 %. Following an averaged duration of 155.5 ± 29.3 days, the values of TSAT were reduced to 16.24 ± 0.48 %. The second iron-loading dose could increase TSAT level to 33.69 ± 3.87 %. The maintenance dose, given at a mean interval of 15.55 ± 2.9 days, could maintain the TSAT concentrations of 38.48 ± 5.40, 37.10 ± 0.15, 34.19 ± 3.59, 34.12 ± 6.60 % at 4, 8, 12, 16 weeks respectively (p >0.70), after start the maintenance iron. Conclusion Determination of the individually appropriate intravenous iron maintenance dosage is beneficial in Erythropoietin-treated hemodialysis patients. The interval time of the 100 mg iron maintenance dose in Thai hemodialysis patients w ere appropriately 2 weeks. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ธาตุเหล็ก en_US
dc.subject ไตวายเรื้อรัง -- ผู้ป่วย en_US
dc.subject อีริย์โธรโปอิเอติน en_US
dc.title ขนาดธาตุเหล็กทดแทนที่เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะขาดธาตุเหล็ก ในผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ที่ได้รับการรักษาด้วยอิริโธรพอยอิติน en_US
dc.title.alternative Appropriate intravenous iron maintenance dosage in erythropoietin-treated hemodialysis en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline อายุรศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor Somchai.E@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record