dc.contributor.advisor |
ศักดิ์ชัย คิรินทร์ภาณุ |
|
dc.contributor.author |
บุญธรรม หุยประเสริฐ |
|
dc.date.accessioned |
2021-02-11T04:16:37Z |
|
dc.date.available |
2021-02-11T04:16:37Z |
|
dc.date.issued |
2530 |
|
dc.identifier.isbn |
9745680923 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72222 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530 |
|
dc.description.abstract |
เขตพญาไทเป็นเขตชั้นในเขตหนึ่ง ที่ได้รับอิทธิพลจากการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร ทั้งทาง ด้านเศรษฐกิจและการใช้ที่ดิน ทำให้การใช้ที่ดินมีความหนาแน่นและเข้มข้นสูงขึ้น ซึ่งถ้าไม่มีการควบคุม การใช้ที่ดินในแนวทางที่ถูกต้องแล้วจะก่อให้เกิดปัญหาทั้งด้านการใช้ที่ดิน การจราจรและสภาพแวดล้อม เมื่อ ปัญหาดังกล่าวมาพิจารณาประกอบกับนโยบายและแผนงานของรัฐ เพื่อเป็นกรอบในการวางแนวทางการใช้ที่ดิน เขตพญาไท ในปี พ.ศ.2544 สำหรับรองรับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นถึง 400,000 คน อย่างมีประสิทธิภาพ และต้องการพื้นที่เพื่อรองรับการพัฒนาในกิจกรรมประเภทต่าง ๆ ได้แก่ พาณิชยกรรม 1,805 ไร่ แบ่งเป็นแบบอาคารสูงและแนวราบ ที่อยู่อาศัย 7,979 ไร่ แบ่งเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่นสูง 200 คน/ไร่ และหนาแน่น 50 คน/ไร่ การวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ใช้เทคนิค Potential Surface Analysis (PSA.) การกำหนดทางเลือกของแนวทางการใช้ที่ดิน ใช้รูปแบบเมืองขนาดใหญ่ 3 แนวความคิด ได้แก่ Center, Corridor และ Dispersion Concept จากการประเมินผลทางเลือกโดยวัดการตอบสนองวัตถุประสงค์ปรากฏว่าทางเลือกตามแนวความคิด Corridor ได้รับเลือกเป็นแนวความคิดหลักที่ใช้ในการวางแนวทางการใช้ที่ดิน แนวทางการใช้ที่ดิน เขตพญาไท พ.ศ.2544 มีการกำหนดทั้งการใช้ที่ดินและโครงข่ายถนนโดยกำหนดให้มีการใช้ที่ดินทั้งหมด 6 ประเภท ได้แก่ พาณิชยกรรมแบบอาคารสูง (พ.1) พาณิยกรรม(พ.2) ที่อยู่อาศัยหนาแน่นสูง (ย. 4) ที่อยู่อาศัยหนาแน่น (ย.3) สถาบันราชการ ศาสนสถาน สถานพักผ่อนหย่อนใจ สถานศึกษา ส่วนโครงข่ายถนนเห็นควรเชื่อมโยงถนนซอยต่าง ๆ ที่สำคัญ เพื่อช่วยระบายการจราจร นอกจากนี้ ยังได้เสนอมาตรการควบคุมการใช้ที่ดินและอาคาร ให้สอดคล้องกัน เพื่อให้แนวทางการใช้ที่ดิน เขตพญาไท พ.ศ. 2544 เกิดผลในทางปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างจริงจัง |
|
dc.description.abstractalternative |
The effect of wide spread landuse and economic expansion resulted in population increase in the city of Bangkok. city growth can be singularly magnified by further observations of individual district such as the Payathai District area. The population density provided indications for future activities and possible progress. Where the increase in commercial areas reflected the needs for more services in residential areas which are self-sufficient. The lack of landuse control will cause future problems, effecting a wider and larger area. These are the national level problems such as environmental pollutions and traffic congestion. These matter must be nationally addressed in order to set guidelines for local administration to follow, such as the policies for Payathai District which is established for the future year of B.E.2544. The mentioned period will have a forcast population of 400,000 persons, requiring 1,805 rais of commercial activity developments and 7,979 rais of residential areas, deviding into 2 categories of commercial constructions, and high or low density residential areas. The analysis system, the potential Surface Analysis (PSA.) is employed to determine and evaluate the 22 basic criteria. The land selections could be made from 3 basic concepts; The Center Concept, The Corridor Concept and Dispersion Concept. The Corridor Concept was used for the guidelines of Payathai District landuse established the rules for 9 landuse types effecting constructions and road networks in the whole area. By the large, land space must conform to the Landuse Guidelines and building control regulations in order to effectively corespond with principle objectives. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.1987.123 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
การใช้ที่ดิน -- ไทย -- กรุงเทพฯ |
|
dc.subject |
พญาไท (กรุงเทพฯ) |
|
dc.subject |
Land use -- Thailand -- Bangkok |
|
dc.title |
การศึกษาเพื่อเสนอแนวทางการใช้ที่ดินเขตพญาไท |
|
dc.title.alternative |
A study for landuse guideline - Phaya Thai district |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การวางแผนภาค |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.email.advisor |
Sakchai.K@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.1987.123 |
|