DSpace Repository

กลยุทธ์การปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคารสถานศึกษา : กรณีศึกษาอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธนิต จินดาวณิค
dc.contributor.advisor ปิยนุช เตาลานนท์
dc.contributor.author สุทัศน์ เยี่ยมวัฒนา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-02-25T04:13:37Z
dc.date.available 2021-02-25T04:13:37Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.isbn 9743464328
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72408
dc.description วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อแสวงหากลยุทธ์การปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่เหมาะสมในเชิงเทคนิคและเศรษฐศาสตร์ ในอาคารสถานศึกษา การวิจัยครั้งนี้แยกการศึกษา ออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ ส่วนแรก สำรวจ ประเมินและวิเคราะห์ระดับสภาวะแวดล้อมด้านอุณหภูมิและการใช้พลังงานในอาคาร ทำการจำลองสภาพอาคารด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ DOE2.1D นำมาใช้เป็นตัวแทนอาคารกรณีศึกษา เพื่อประเมินผลการใช้พลังงานในอาคาร การศึกษาในส่วนหลัง พิจารณาหาวิธีการปรับปรุงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของอาคารและเสนอแนวทางในการปรันปรุงการใช้พลังงานในอาคารที่เหมาะสม ผลการวิจัย พบว่าพลังงานไฟฟ้าส่วนใหญ่ในอาคารถูกนำไปใช้ในระบบปรันอากาศ เนื่องจากองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมไม่มีคุณลมปติและประสิทธิภาพเพียงพอที่จะด้านทานความร้อนจากภายนอกอาคารได้ ทำให้ค่าการถ่ายเทความร้อนรวมผ่านกรอบอาคารมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ที่กฎหมายควบคุมอาคารกำหนดไว้ องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่มีปัญหา และต้องนำมาพิจารณาปรับปรุง ได้แก่ ผนังทึบ หลังคาคอนกรีต ผนังโปร่งแลง ช่องหน้าต่าง แผงกันแดดภายนอก และการรั้วไหลของอากาศ สำหรับพลังงานที่ใช้ในระบบแสงประดิษฐ์นั้น มีปริมาณพลังงาน ไฟฟ้าแลงสว่างที่ใช้ต่อพื้นที่ผ่านตามเกณฑ์ที่กฎหมายควบคุมอาคารกำหนดไว้ในขณะที่ค่าระดับความส่องสว่างผ่านเกณฑ์มาตรฐานเช่นกัน จึงถือว่าการใช้งานในระบบไฟฟ้าแสงประดิษฐ์จัดอยู่ในระดับที่เหมาะลมและมีประสิทธิภาพดี จากการศึกษา สามารถสรุปเป็นแผนการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคารสถานศึกษาได้ 3 แนวทาง คือ แนวทางที่1 ปรับปรุงอาคารให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทางด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารโดยมีงบประมาณในการลงทุนน้อยที่สุด โดยสามารถลดการใช้พลังงานได้ 9.54% ต่อปีงบประมาณลงทุน 448,660 บาท ระยะเวลาคืนทุนภายใน 4.1 ปี แนวทางที่ 2 ปรับปรุงอาคารให้มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ โดยสามารถลดการใช้พลังงานได้ 12.91% ต่อปี งบประมาณลงทุน 728,733 บาท ระยะเวลาคืนทุนภายใน 5 ปี แนวทางที่ 3 ปรับปรุงอาคารเพื่อลดการใช้พลังงานลงมากที่สุด โดยสามารถลดการใช้พลังงานได้ 13.81%ต่อปี งบประมาณลงทุน 1,476,482บาท ระยะเวลาคืนทุนภายใน 6.1 ปี en_US
dc.description.abstractalternative The objective of this study was to find out an energy efficient strategies for academic building with appropriated techniques and economic. This research was conducted in two parts. The first part was surveyed , evaluated ,and analyzed existing thermal environment and energy consumption. Calibrated computer simulation models by computer program DOE2.1D were used as a tool to evaluate the energy consumption. The second part was to find out proper architectural improvements and to propose energy efficient strategies. The result of this research indicated that a major electrical energy consumption was from an air-conditioning system due to the poor building envelope to prevent heat gain from opaque wall 1 concrete slab , fenestration , infiltration and shading device system. The utilization of electrical energy for the lighting system had proper efficiency since the energy utilization of the system passed building code allowed and the illumination level from the lighting system was adequalte. The final , three energy efficient strategies were proposed. The first strategies was the retrofit of the building for energy conservation with building code required and with lowest investment cost. As a result, the annual energy consumption of the building could be reduced 9.54% with investment cost 448,660 Baths and economical return within 4.1 years. The second strategies was the retrofit of the building for energy conservation with appropriated economic. As a result, the annual energy consumption of the building could be reduced 12.91% with investment cost 728,733 Baths and economical return within 5 years. The third strategies was the retrofit of the building for energy conservation with the most reduction of energy consumption. As a result, the annual energy consumption of the building could be reduced 13.18% with investment cost 887,769 Baths and economical return within 6.1 years. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะวิศวกรรมศาสตร์ -- อาคาร en_US
dc.subject อาคาร -- การใช้พลังงาน en_US
dc.subject ความร้อน -- การถ่ายเท en_US
dc.subject การปรับอากาศ en_US
dc.title กลยุทธ์การปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคารสถานศึกษา : กรณีศึกษาอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร en_US
dc.title.alternative Energy efficient strategies for academic building : a case study of the Faculty of Engineering, Naresuan University en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline เทคโนโลยีอาคาร en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Thanit.C@Chula.ac.th
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record