DSpace Repository

การเปิดรับข่าวสารกับความต้องการบริจาคโลหิตของนักเรียนระดับมัธยมปลายในเขตกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปรมะ สตะเวทิน
dc.contributor.author กรรณิการ์ เตชะอุดมโภคา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-03-05T09:19:51Z
dc.date.available 2021-03-05T09:19:51Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.isbn 9741705867
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72669
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และความต้องการบริจาคโหลิตของนักเรียนระดับมัธยมปลายในกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 415 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย t-test การวิเคราะห์แบบแปรปรวนค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ซึ่งประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลของการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่มี เพศ ประเภทของนักเรียน ประเภทของโรงเรียน สถานภาพสมรสของบิดา มารดาอาชีพของผู้ปกครองและได้รับค่าใช้จ่ายส่วนตัวแตกต่างกัน มีการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับการบริจาคโลหิตแตกต่างกัน 2.การเปิดรับข่าวสารจากสื่อมวลชน สื่อบุคคล และสื่อเฉพาะกิจมีความสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับการบริจาคโลหิต 3.การเปิดรับข่าวสารจากสื่อมวลชนและสื่อเฉพาะกิจมีความสัมพันธ์กับทัศนคติเกี่ยวกับการบริจาคโลหิต 4.การเปิดรับข่าวสารจากสื่อมวลชนและสื่อบุคคลมีความสัมพันธ์กับความต้องการบริจาคโลหิต 5.ความรู้เกี่ยวกับการบริจาคโลหิต มีความสัมพันธ์กับทัศนคติเกี่ยวกับความต้องการบริจาคโลหิต 6.ความรู้เกี่ยวกับการบริจาคโลหิตมีความสัมพันธ์กับความต้องการบริจาคโลหิต 7.ทัศนคติเกี่ยวกับการบริจาคโลหิตมีความสัมพันธ์กับความต้องการบริจาคโลหิต 8. ตัวแปรที่สามารถอธิบายความต้องการบริจาคโลหิตได้ดีที่สุดคือ ความรู้ en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to examine the correlation among information exposure, knowledge, attitude and the willingness for blood donation of upper secondary school students in Bangkok. Questionnaires were used to collect the data from 415 samples. Frequency, percentage, mean, t-test, ANOVA, Pearson’s Moment Correlation Coefficient and Multiple Regression. Analysis were employed for the analysis of the data. SPSS program was used for data processing. The results of the study were as follows: 1. Students different in sex, types of students, types of schools, marital status, occupation of parents and income were significantly different in information exposure. 2.Information exposure to mass media, personal media and specialized media correlated with knowledge of blood donation. 3.Infomation exposure to mass media and specialized media correlated with attitude toward blood donation. 4. Information exposure to mass media and personal media correlated with the willingness for blood donation. 5. Knowledge of blood donation correlated with attitude toward blood donation. 6. Knowledge of blood donation correlated with the willingness for blood donation. 7. Attitude toward blood donation correlated with the willingness for blood donation. 8. The variable that could best explain the willingness for blood donation was the knowledge of blood donation. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย -- ทัศนคติ
dc.subject การบริจาคโลหิต
dc.subject High school students -- Attitude (Psychology)
dc.subject Directed blood donations
dc.title การเปิดรับข่าวสารกับความต้องการบริจาคโลหิตของนักเรียนระดับมัธยมปลายในเขตกรุงเทพมหานคร en_US
dc.title.alternative Information exposure and the willingness for blood donation among upper secondary school students in Bangkok en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิเทศศาสตรพัฒนาการ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record