dc.contributor.advisor |
รัตยา โตควณิชย์ |
|
dc.contributor.author |
จิตตินันทน์ เสวะลาภี |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
เชียงใหม่ |
|
dc.date.accessioned |
2021-03-15T07:14:37Z |
|
dc.date.available |
2021-03-15T07:14:37Z |
|
dc.date.issued |
2544 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72838 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงรูปแบบการดำเนินชีวิตของผู้บริโภคในเมืองเชียงใหม่ (2) ศึกษาถึงทัศนคติและพฤติกรรมที่มีต่ออาหารเพื่อสุขภาพ และ (3) ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการดำเนินชีวิต ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัยกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มรูปแบบการดำเนินชีวิตของผู้บริโภคในเขตเมืองเชียงใหม่ สามารถจัดแบ่งได้เป็น 6 แบบ คือ 1) สนใจข้อมูลใส่ใจสุขภาพ 2) สุขภาพดีรู้วิธีปฏิบัติ 3) ทำร้ายสุขภาพ 4) หลีกหนีความเครียด 5) ไม่ตระหนักถึงสุขภาพ และ 6) ชอบรับประทานอาหารมัน 2. ผู้บริโภคในเขตเมืองเชียงใหม่มีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ 3. พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพโดยรวมของผู้บริโภคในเขตเมืองเชียงใหม่อยู่ในระดับตํ่า นอกจากนี้ยังพบว่าพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่มาจากธรรมชาติมีระดับสูงกว่าพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่เป็นสารสกัดจากธรรมชาติ 4. กลุ่มรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบ สนใจข้อมูลใส่ใจสุขภาพ และ แบบสุขภาพดีรู้วิธีปฏิบัติ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับทัศนคติที่มีต่ออาหารเพื่อสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 5. กลุ่มรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบสนใจข้อมูลใส่ใจสุขภาพ แบบสุขภาพดีรู้วิธีปฏิบัติ และแบบชอบรับประทานอาหารมัน มีความ สัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 6. ทัศนคติที่มีต่ออาหารเพื่อสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระคับ 0.05 |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this survey research were to 1) to segment lifestyles of urban Chiang Mai consumers, 2) to study their attitudes toward health food and their health food consumption and 3) to determine the relation among lifestyles, attitudes and health food consumption. Questionnaire were used to collect data from 400 respondents. The results were : 1. Lifestyles of urban Chiang Mai consumers were segmented into 6 groups ; Health information seeker group, Healthy practice group, Health damage group, Tension avoiding group, Health neglect group and Oily-fatty food consuming group. 2. Urban Chiang Mai consumers had positive attitudes toward health food. 3. Overall health food consumption of urban Chiang Mai consumers was low. It was also found that the consumption of natural health food was higer than that of extracted health food. 4. Lifestyles of Health information seeker group and Healthy practice group had positive correlation with attitudes toward health food at significant level of 0.05 5. Lifestyles of Health information seeker group, Healthy practice group and Oily-fatty food consuming group had positive correlation with health food consumption at significant level of 0.05 6. There was a positive correlation between attitudes toward health food and health food consumption at significant level of 0.05 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2001.251 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
รูปแบบการดำเนินชีวิต |
en_US |
dc.subject |
พฤติกรรมผู้บริโภค |
en_US |
dc.subject |
อาหารเพื่อสุขภาพ |
en_US |
dc.subject |
สังคมวิทยาเมือง |
en_US |
dc.title |
รูปแบบการดำเนินชีวิต ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้บริโภค ที่มีต่ออาหารเพื่อสุขภาพ ในเขตเมืองเชียงใหม่ |
en_US |
dc.title.alternative |
Lifestyle, attitude and health food consumption of urban Chiangmai consumers |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
การโฆษณา |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2001.251 |
|