DSpace Repository

Particulate matter 2.5 : a case study of measures and risks in Bangkok during early 2019

Show simple item record

dc.contributor.advisor Jakkrit Sangkhamanee
dc.contributor.author Thanabodee Lekprayura
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Political Science
dc.date.accessioned 2021-03-31T07:28:09Z
dc.date.available 2021-03-31T07:28:09Z
dc.date.issued 2018
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73019
dc.description Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2018 en_US
dc.description.abstract สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็กมีที่มาจากหลายปัจจัย อาทิ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ ปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมถึงความไม่เท่าเทียมกันในสังคม ในช่วงไตรมาสแรกของปี ค.ศ. 2019 กรุงเทพมหานครถูกปกคลุมโดยฝุ่นละอองขนาดเล็กเป็นจำนวนมากหรือที่รู้จักกันในชื่อฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน ผู้ที่อยู่อาศัยในเขตตัวเมืองต่างได้รับผลกระทบจากฝุ่นละออง โดยเฉพาะปัญหาสุขภาพและการลดลงของรายได้ แม้ว่าทางรัฐบาลไทยได้มีการประกาศใช้มาตรการต่าง ๆ ในการรับมือกับปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่ซึ่งได้รับผลกระทบเป็นส่วนใหญ่กลับถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มคนที่ไม่ได้รับความสำคัญ ในบริบทนี้ การบังคับใช้มาตรการที่ดีนั้นไม่ควรมุ่งเน้นที่การลดจำนวนฝุ่นละอองขนาดเล็กเพียงอย่างเดียว หากแต่ต้องคำนึงถึงผลกระทบที่กลุ่มประชากรอาจได้รับจากมาตรการเหล่านั้นด้วย การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมาตรการของรัฐในการควบคุมปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กและความเสี่ยงต่าง ๆที่ส่งผลกระทบต่อประชากรกลุ่มเสี่ยงในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในการทำความเข้าใจความซับซ้อนของปัญหานั้น ผู้จัดทำได้ใช้วิธีการศึกษาแบบข้ามสาขาวิชา ผ่านทฤษฎี “สังคมแห่งความเสี่ยง” และทฤษฎี “ความเหลื่อมล้ำทางสิ่งแวดล้อม” โดยใช้วิธีการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์แบบเชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่างที่หลากหลาย และการสืบค้นข้อมูลจากเอกสารในการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อหาข้อสรุป จากการศึกษาพบว่าสถานการณ์ของฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอนในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีสาเหตุการเกิดหลักจากการคมนาคม มาตรการการป้องกันและการลดฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอนที่บังคับใช้โดยรัฐ โดยมากแล้วเป็นการป้องกันปัญหาระยะสั้น ซึ่งมุ่งเน้นไปที่การลดกิจกรรมในภาคอุตสาหกรรมและการก่อสร้างมากกว่าการให้ความสำคัญกับการป้องกันระยะยาว เช่น การปรับปรุงคุณภาพของเครื่องยนต์และเชื้อเพลิง เป็นต้น นอกจากนี้จากการศึกษากลุ่มประชากรตัวอย่างพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อความไม่เท่าเทียมในการเผชิญกับผลกระทบจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก ประกอบไปด้วย ภาระทางการเงิน มาตรการของรัฐที่อิงกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม ราคาของอุปกรณ์ป้องกันฝุ่นละออง การเข้าถึงแหล่งที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยและความสามารถในการเข้าถึงการบริการของภาครัฐ รวมถึงแหล่งข้อมูลที่จำเป็น en_US
dc.description.abstractalternative The increased presence of particulate matter is caused by a multiplicity of factors, such as economic development, environmental degradation, and social inequality. During the first quarter of 2019, Bangkok was covered with a large amount of fine particle, known as PM2.5. Many Bangkok residents were affected, particularly in terms of their health and income. The Thai government has announced measures to cope with the problem. However, the most effective measures should not only decrease the level of particles, but should also be able to address the impacts on risk-prone groups. In this context, the vulnerable groups seem to be those placed in a marginalized position, while they are also the group that tends to be most impacted. The objective of the study aims to understand the relationship between the state measures and the multiplicity of risks among the vulnerable groups in Bangkok. In order to comprehend the complexity of the issue, this study utilizes a transdisciplinary approach to highlight the politics of government measures for different stakeholders. It analyzes the case of PM2.5 in Bangkok during 2019 through the conceptual lens of risk society and environmental inequality. The research combines different methodologies including non-participatory observation, in-depth interviews with various types of samples, and documentary research. The study found that the majority of PM2.5 in Bangkok has occurred as a result of transportation activities. Most of the measures implemented by the state in response, however, were short-term solutions that focused on limiting activities in the industrial and construction sectors, rather than pursuing long-term solutions such as improving engine and fuel standards. Among the vulnerable groups, it is found that there are many factors causing their exposure to the impact of PM2.5. These factors are: economic condition, ineffectiveness of measures in regard to economic and social dependency, cost of protection, area of state service, availability of safe accommodation, and the ability to access services and sources of necessary information. en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.299
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.title Particulate matter 2.5 : a case study of measures and risks in Bangkok during early 2019 en_US
dc.title.alternative ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน : กรณีศึกษามาตรการและความเสี่ยงในกรุงเทพมหานครช่วงต้นปี ค.ศ. 2019 en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Arts en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline International Development Studies en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Jakkrit.Sa@Chula.ac.th,jakkrit.mail@gmail.com
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2018.299


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record