DSpace Repository

การเปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตนระหว่างวัยรุ่นตอนต้นและวัยรุ่นตอนปลายที่มีความเชื่ออำนาจภายในและภายนอกตน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร
dc.contributor.author พรนาวี ทิมเกิด
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2021-04-05T03:04:38Z
dc.date.available 2021-04-05T03:04:38Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741752237
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73079
dc.description.abstract การวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตนระหว่างวัยรุ่น ตอนต้นและวัยรุ่นตอนปลายที่มีความเชื่ออำนาจภายในและภายนอกตน กลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกบา คือ วัยรุ่นตอนต้นซึ่งกำลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อายุระหว่าง13-15 ปี และวัยรุ่นตอน ปลายซึ่งกำลังศึกษาในระดับอุดมศึกษา อายุระหว่าง 18-21 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยกลุ่ม ตัวอย่างทังสองยังถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่มีความเชื่ออำนาจภายในตน จำนวน 200 คน และกลุ่มที่มีความเชื่ออำนาจภายนอกตน จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 แบบ คือ แบบประเมินความเชื่ออำนาจภายในและภายนอกตนและแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของ ตน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางผลการวิจัย พบว่า ลักษณะของความเชื่อของบุคคลและระดับอายุส่งผลต่อคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่.001 กล่าวคือ 1. วัยรุ่นที่มีความเชื่ออำนาจภายในตน มีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตน (M = 31.71, SD = 3.28) สูงกว่าวัยรุ่นที่มีความเชื่ออำนาจภายนอกตน (M = 25.69, SD = 3.48) อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (F(1,796)= 656.291, P < .001) 2. วัยรุ่นตอนปลายมีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตน (M = 29.77, SD = 3.34) สูงกว่า วัยรุ่นตอนต้น (M =27.71, SD = 3.22) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F (1,796) = 69.808, P < .001)
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to compare the self-efficacy between early and late adolescents with internal and external locus of control. The subjects in this research were early adolescents in secondary school aged 13-15 years and late adolescents in the universities aged 18- 21 years in Bangkok. Each group, the early and late adolescents, were divided into two groups; 200 students with internal locus of control and 200 students with external locus of control. Two tests were used in this study Nowicki-Strickland Internal-External Scale and General Self- Efficacy Scale.Two-way Analysis of Variance was used for statistical analysis.The results are as follow 1. Adolescents with internal locus of control (M = 31.71, SD = 3.28) show significantly higher scores in self efficacy than adolescents with external locus of control.(M = 25.69, SD = 3.48) (F(1,796) = 656.291, p < .001) 2. Late adolescents (M = 29.77, SD = 3.34) have significantly higher scores in self- efficacy than early adolescents.(M =27.71, SD = 3.22) (F(1,796)= 69.808,p < .001)
dc.language.iso th en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject วัยรุ่น -- ไทย en_US
dc.subject การรับรู้ตนเอง en_US
dc.subject แนวคิดอำนาจควบคุมตน en_US
dc.subject Adolescence -- Thailand en_US
dc.subject Self-perception en_US
dc.subject Locus of control en_US
dc.title การเปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตนระหว่างวัยรุ่นตอนต้นและวัยรุ่นตอนปลายที่มีความเชื่ออำนาจภายในและภายนอกตน en_US
dc.title.alternative A Comparison of self-efficacy between early and late adolescents with internal and external locus of control en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยาพัฒนาการ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record