dc.contributor.advisor |
สมชาย เอี่ยมอ่อง |
|
dc.contributor.advisor |
เกรียง ตั้งสง่า |
|
dc.contributor.author |
วนิดา สมบูรณ์ศิลป์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-05-13T04:09:35Z |
|
dc.date.available |
2021-05-13T04:09:35Z |
|
dc.date.issued |
2543 |
|
dc.identifier.isbn |
9741308809 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73356 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
en_US |
dc.description.abstract |
ที่มาและเหตุผล ผู้ป่วยโรคไตวายรื้อรังเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี สูง โอกาสการเกิดเป็นพาหะหรือภาวะแทรกช้อนต่าง ๆ มากกว่าคนปกติ สาเหตุเนื่องมาจากมีการตอบสนองทางระบบภูมิคุ้มกันเสียไป จึงมีการแนะนำให้ผู้ป่วยเหล่านี้เข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคดังกล่าว โดยฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อและใช้ขนาดของวัคซีนมากเป็นสองเท่าของปกติ ทำให้เพิ่มค่าใช้จ่ายมากขึ้น การฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนังด้วยขนาดวัคซีนที่ตํ่ากว่า อาจเป็นทางเลือกหนึ่งที่มีประสิทธิภาพดีและช่วยลดค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยลงได้ วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันระหว่างการฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี เข้าชั้นผิวหนังในขนาดตํ่ากว่าและการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อในขนาดเป็นสองเท่าของปกติ ในผู้ป่วยโรคไตวายรื้อรังระยะก่อนการล้างไต วิธีการ ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังที่มีซีรั่มครีเอตินิน 3-8 มก/ดล และยังไม่ได้รับการล้างไต จะถูกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่, 1 ได้รับการฉีด Engerix B 10 ไมโครกรัม เข้าชั้นผิวหนัง (ID, จำนวน 21 ราย) กลุ่มที่ 2 ฉีด 40 ไมโครกรัม เข้าชั้นกล้ามเนื้อ (IM;จำนวน 19 ราย)รวม 4 ครั้ง ในเดือนที่ 0,1,2 และ 6 ถือว่าระดับแอนติบอดี (AntiHBsAb) ตั้งแต่ 10 mIU/มล ขึ้นไปมีการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ทำการเจาะเลือดส่งตรวจในเดือนที่, 1,2,6 และ7 และเปรียบเทียบผลการศึกษา ผลการศึกษา ไม่มีความแตกต่างทางสถิติในข้อมูลพื้นฐานทั่วไป ( เพศ, อายุ, นํ้าหนัก, ซีรั่มครีเอตินิน, อัลบูมีน, ฮีมาโตคริต) กลุ่มที่ 1 (ID) มีอัตราการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันใน เดือนที่ 1, 2, 6 และ 7 เท่ากับร้อยละ 14.3, 33.3, 61.9 และ 85.7 ตามลำดับ กลุ่มที 2 (IM) เท่ากับร้อยละ 15.8, 63.2, 84.2 และ 89.6 ตามลำดับ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติระหว่าง 2 กลุ่ม P > 0.05 สรุป เป็นการศึกษาแรกที่ทำการฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี เปรียบเทียบระหว่างการฉีดในขนาดตํ่าเข้าชั้นผิวหนัง และฉีดขนาดสองเท่าของปกติเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังในระยะก่อนการล้างไต พบว่าการฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี เข้าชั้นผิวหนังในขนาดตํ่า (10 ไมโครกรัม) มีการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันเท่ากับการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อในขนาดเป็นสองเท่าของปกติ (40 ไมโครกรัม) ในเดือนที่ 1,2,6 และ 7 และเป็นการฉีดที่มีความปลอดภัย, สะดวก และประหยัด ขณะนี้กำลังศึกษาติดตามผู้ป่วยเหล่านี้เพื่อดูระยะเวลาในการตอบสนองของภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้น |
|
dc.description.abstractalternative |
Background Patients with CRF encounter an increased risk of hepatitis B infection and could have a higher incidence of chronic carrier state or more serious complications than normal subjects. Because of the impaired immunity in CRF patients, intramuscular administration of double standard dose of hepatitis B vaccine has been recommended as a standard regimen to prevent the infection but the cost has been increased. Intradermal vaccination with a lower dose might be an alternative route in inducing effective immunologic response in CRF patients and less cost than the standard regimen. Objective To compare between the immunogenicity of intradermal hepatitis B vaccination at lower dose and of intramuscular vaccination at double standard dose in predialysis CRF patients. Method Predialvtic CRF patients with serum creatinine 3-8 mg/dl were randomized into 2 groups. First is the intradermal group (ID,n=21). The dose of Engerix B® was 10 meg. Another is the intramuscular group (IM,n=19). The vaccine dose was 40 meg. Each patient received the 4 doses of vaccination at month 0,1,2 and 6. Protective seroconversion was defined as AntiHBsAb titers ≥ 10 mIU/cc. Antibody responses at 1,2,6 and 7 months after the first vaccination were used to compare the immunogenicity between the two routes. Result There were no difference in demographic data (sex, age, body weight, serum creatinine, albumin, hematocrit) between two groups. In the ID group, seroconversion rates at 1,2,6 and 7 months after the first vaccination were 14.3, 33.3 ,61.9 and 85.7% respectively. In the IM group, the responsive rates were 15.8 1 63.2 , 84.2 and 89.6% respectively. There were no statistical significance between both groups at the same times (p>0.05). Conclusion In predialytic CRF patients, intradermal route of hepatitis B vaccination at the dose of 10 mcg has similar immunogenicity as intramuscular vaccination at the dose of 40 mcg at 1,2,6 and 7 months after the first vaccination. Long term follow up of antibody titer levels are being studied. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2000.69 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ไวรัสตับอักเสบบี |
en_US |
dc.subject |
วัคซีนตับอักเสบบี |
en_US |
dc.subject |
ไตวายเรื้อรัง |
en_US |
dc.subject |
Hepatitis B virus |
en_US |
dc.subject |
Hepatitis B vaccine |
en_US |
dc.subject |
Chronic renal failure |
en_US |
dc.title |
การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันภายหลังการฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี ระหว่างการฉีดเข้าชั้นผิวหนังในขนาดต่ำและการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อในขนาดสองเท่าของปกติ ในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะก่อนการล้างไต |
en_US |
dc.title.alternative |
Immunogenicity of intradermal hepatitis B vaccination at lower dose versus intramuscular vaccination at double standard dose in predialytic chronic renal failure (CRF) patients |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
อายุรศาสตร์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Somchai.E@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2000.69 |
|