DSpace Repository

องค์ประกอบทางเคมีของเปลือกต้นประดู่บ้าน

Show simple item record

dc.contributor.advisor สันติ ทิพยางค์
dc.contributor.author ชันธิภา เลิศวิภาภัทร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-05-21T02:49:23Z
dc.date.available 2021-05-21T02:49:23Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73457
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 en_US
dc.description.abstract จากการนำเปลือกต้นประดู่บ้านมาสกัดด้วยเอทิลอะซิเตต แล้วนำสิ่งสกัดที่ได้นั้นมาแยกด้วยเทคนิคคอลัมน์โครมาโทกราฟี พบว่าสามารถแยกสารในกลุ่มไตรเทอร์พีนอยด์ได้ 2 ชนิด คือ lupeol (1) และ canophyllol (2) สารประกอบควิโนน 1 ชนิด คือ 2,6-dimethoxy-p-benzoquinone (3) สารประกอบฟินอลิก 3 ชนิด คือ vanillic acid (4), trans-4-hydroxymellein (5) และ cis-4-hydroxymellein (6) และสารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ 6 ชนิด โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเทอโรคาร์พิน 2 ชนิด ได้แก่ (6αR,11αR)-medicarpin (7) และ (6aR, 11aR)-3,8-dihydroxy-9-methoxypterocarpan (8) และกลุ่มไอโซฟลาโวน 4 ชนิด ได้แก่ afromosin (9), formononetin (10), clycosin (11) และ 8-O-methylretusin (12) โดยโครงสร้างทั้งหมดได้พิสูจน์ทราบด้วยข้อมูลทางสเปกโทรสโกปี ร่วมกับการเปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีการรายงานมาก่อนหน้านี้ และจากการทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสของยีสต์พบว่าสาร 1 และ 11 มีฤทธิ์ในการยับยั้งที่ดี โดยมีค่า IC₅₀ = 37.2 และ 29.8 μM ตามลำดับ เมื่อเทียบกับสารมาตรฐาน acarbose ที่มีค่า IC₅₀ = 526 μM และจากนั้นทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสในลำไส้หนู (มอลเทส และซูเครส) พบว่าสาร 11 มีฤทธิ์ในการยับยั้งปานกลาง โดยมีค่า IC₅₀ = 67.7 และ 103 μM ตามลำดับ เมื่อเทียบกับสารมาตรฐาน acarbose ที่มีค่า IC₅₀ = 7.9 และ 10.9 μM ตามลำดับ en_US
dc.description.abstractalternative The stem bark of Pterocarpus indicus Willd was extracted with ethyl acetate (EtOAc). The EtOAc crude extract was chromatographed which led to isolation of two major triterpenoids, lupeol (1) and canophyllol (2), one quinone compound, 2,6-dimethoxy-p-benzoquinone (3), three phenolic compounds, vanillic acid (4), trans-4-hydroxymellein (5) and cis-4-hydroxymellein (6), six flavonoids that can be classified into two pterocarpin derivatives, (6αR,11αR)-medicarpin (7) and (6aR, 11aR)-3,8-dihydroxy-9-methoxypterocarpan (8), together with four isoflavone derivatives, afromosin (9), formononetin (10), clycosin (11) and 8-O-methylretusin (12). Their structures were determined by spectroscopic methods as well as comparison with previous reports in the literature. Moreover, all compounds were evaluated for their α-glucosidase activity in yeasts. Compounds 1 and 11 showed potent inhibitory activity towards yeast α-glucosidase with the IC₅₀ values of 37.2 and 29.8 μM, respectively, while the standard acarbose had an IC₅₀ value of 526 μM. In addition, the rat intestine glucosidase (maltase and sucrase) of all isolated compounds were evaluated. Compound 11 showed moderate inhibitory activity towards α-glucosidase (maltase and sucrase) with the IC₅₀ values of 67.7 and 103 μM, respectively when compared to the standard acarbose with the IC₅₀ values of 7.9 and 10.9 μM, respectively. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ประดู่ -- วิเคราะห์และเคมี en_US
dc.title องค์ประกอบทางเคมีของเปลือกต้นประดู่บ้าน en_US
dc.title.alternative Chemical Constituents from the Stem Bark of Pterocarpus indicus Willd en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Santi.Ti@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record