dc.contributor.advisor |
ลักษณา ดูบาส |
|
dc.contributor.author |
อิสริยาภรณ์ ประเสริฐวิริยะ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-05-21T03:04:46Z |
|
dc.date.available |
2021-05-21T03:04:46Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73459 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนากระดาษห่อผลไม้ที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ โดยใช้กระดาษ เคลือบด้วยสารสกัดจากขมิ้นชัน กาแฟ และกากกาแฟ ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides เป็นสาเหตุการเกิดโรคแอนแทรคโนส ซึ่งเป็นโรคหลังการเก็บ เกี่ยวที่สำคัญในมะม่วง เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตรให้นานขึ้น โดยงานวิจัยนี้แบ่ง ออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนแรกทาการ ศึกษาภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสารเคอร์คูมินจากผงขมิ้นชัน ภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมกระดาษกรองชุบสารสกัดขมิ้นชัน และศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อรา พบว่า ภาวะที่เหมาะสมในการสกัด คือ อัตราการกวน 500 รอบ/นาที ที่อุณหภูมิ 40 °C เป็นเวลา 4 ชั่วโมง สารสกัด ขมิ้นชันสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides และการเตรียม กระดาษกรองชุบสารสกัดขมิ้นชัน 5 นาทีเพียงพอต่อการยับยั้งการเจริยของเชื้อรา ส่วนที่สอง ทำการศึกษาสารสกัดจากกาแฟและกากกาแฟ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการต้านเชื้อรา พบว่า สารสกัด กาแฟไม่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อรา แต่สารสกัดกากกาแฟสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides ได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
To extend the shelf life of agricultural products, the research was aimed at developing a fruit wrapping paper, which has anti-microbial properties. The paper was coated with turmeric, ground coffee and spent coffee ground (SCG) extraction that inhibit the growth of fungus Colletotrichum gloeosporioides, causes of Anthracnose disease, which is an important postharvest disease in mango. In this work, the researcher was divided into two parts. The first past focused on the study of turmeric powder extraction, dipping time and antifungal activity. The results showed that optimum condition for extraction of curcumin from turmeric powder is stirring rate of 500 revolutions per minute at 40 °C for 4 hours. The turmeric extract can inhibit the growth of fungus Colletotrichum gloeosporioides and five minutes for dipping in turmeric extract is enough to inhibit fungi. The second part studied ground coffee and spent coffee ground (SCG) extracts for their abilities to inhibit the growth of fungi. The result showed that spent coffee ground (SCG) extract could inhibit the growth of fungi Colletotrichum gloeosporioides while coffee ground extract could not. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
บรรจุภัณฑ์อาหาร |
en_US |
dc.subject |
สารต้านเชื้อรา |
en_US |
dc.title |
บรรจุภัณฑ์ห่อผลไม้ที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ |
en_US |
dc.title.alternative |
Development of Antifungal Packaging for Fruit |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.author |
Luxsana.L@Chula.ac.th |
|