dc.contributor.author |
ศิริเพ็ญ ศุภกาญจนกันติ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.date.accessioned |
2006-07-12T12:00:52Z |
|
dc.date.available |
2006-07-12T12:00:52Z |
|
dc.date.issued |
2537 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/740 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและทำการรวบรวมจัดทำและวิเคราะห์รูปแบบจำลองด้านการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างกับการเป็นเมืองในประเทศไทย เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนา รูปแบบจำลองในการนำมาอธิบายปรากฏการณ์การเป็นเมืองในประเทศไทย การวิเคราะห์แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ในขั้นตอนแรกใช้วิธีวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง โดยใช้บัญชีรายได้ประชาชาติ และบัญชีผลิตภัณฑ์มาแบ่งแยกประเภทออกเป็น 8 ประเภทตามระบบของ Interindustry และทำการวิเคราะห์แบบแผนความจำเริญเติบโต ด้านอุปสงค์ และอุปทาน ขั้นตอนต่อมา แบบจำลองที่ใช้ในการวิเคราะห์เป็นแบบจำลองที่เรียกว่า แบบจำลองดุลยภาพทั่วไป ประกอบด้วยกลุ่มสมการ 6 กลุ่มดังนี้ กลุ่มสมการค่าจ้าง กลุ่มสมาการราคา กลุ่มสมการรายได้ กลุ่มสมการอุปสงค์ กลุ่มสมการการผลิต และกลุ่มสมการในการทำให้ตลาดอยู่ในภาวะสมดุล ผลของการวิจัยพบว่า การเปลี่ยนแปลงในส่วนประกอบของขบวนการผลิตของภาพอุตสาหกรรมต่าง ๆ นั้นเป็นภาพลักษณ์ที่โดดเด่นที่สุดของการมองการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง และพบว่าภาคเกษตรกรรมเป็นภาคที่มีสัดส่วนของผลผลิตต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติลดลง อันเนื่องมาจากรูปแบบอุปสงค์ และสินค้าขั้นกลาง ส่วนภาคอุตสาหกรรมการผลิตและภาคบริการสัดส่วนนี้จะเพิ่มสูงขึ้นอันเนื่องมาจากภาคการค้าระหว่างประเทศและเทคโนโลยี สำหรับผลการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างต่อการเป็นเมืองในประเทศไทยพบว่า สาเหตุการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบอุปสงค์ต่อสินค้าปฐม การเพิ่มขึ้นในค่าความยืดหยุ่นของการทดแทนสินค้านำเข้าต่อสินค้าผลิตในประเทศของภาคอุตสาหกรรมการผลิต และการเพิ่มขึ้นในอัตราภาษีรายได้ มีผลให้ระดับความเป็นเมืองเพิ่มสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับปีฐาน ส่วนการเพิ่มขึ้นในค่า neutral technical change ของภาคอุตสาหกรรมการผลิต มีผลให้ระดับความเป็นเมืองลดลงเมื่อเทียบกับปีฐาน |
en |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research is to analyse the structural change in Thailand and to develop a model of the urbanization relating to structural change. With the acquisition of national accounts and input-output table which are defined in 8 categories according to interindustry pattern, the method of general modeling is used in an attempt to analyse the structural change by focusing on the growth pattern of demand and supply. To a larger extent, the study also requires successively another analytical model a so-called computable general equillbrium model consist of six blocks : (1) wage block ; (2) price block ; (3) income block (4) demand block; (5) production function and (6) labour market clearing block. The research results show that the decline in share of GD in agricultural sector is due to changes in demand pattern and intermediate products while the increase in share of GDP in manufacturing and service sector is caused by trade and technology. The CGE model also domonstartes the effects of some shocks on the urbanization process as follows: Such factors as the shift in the pattern of demand toward manufactured goods; the increase in elasticity of substitution between imports and domestics good; and the increase in income tax rate correspondingly, augment the rate of urbanization and the increase in the rate of neutral technical change in manufacturing sector tends to lower the urbanization rate when compared to the base case. |
en |
dc.description.sponsorship |
กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช |
en |
dc.format.extent |
34459503 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
เศรษฐศาสตร์เมือง--ไทย |
en |
dc.subject |
การเกิดเป็นเมือง--ไทย |
en |
dc.subject |
เมือง--ไทย--การเจริญเติบโต |
en |
dc.title |
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและการเป็นเมืองในประเทศไทย : รายงานผลการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Structural change and urbanization in Thailand |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |
dc.email.author |
Siripen.S@chula.ac.th |
|